วันศุกร์ที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2559

กรณียสุตตคาถา

๑. กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ . . . . . . . ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ
สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ . . . . . . . . . . . . สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี

กิจ ที่คนฉลาดในสิ่งที่มีประโยชน์ และมุ่งหมายจะบรรลุทางสงบ จะพึงทำ ก็คือ เป็นคนกล้า, เป็นคนซื่อ, เป็นคนตรง, ว่าง่าย, อ่อนโยน, ไม่เย่อหยิ่ง


๒. สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ . . . . . . . .อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ
สันตินท์ริโย จะ นิปะโก จะ . . . . . . . . อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ

เป็นผู้สันโดษ, เลี้ยงง่าย, มีภาระกิจน้อย, คล่องตัว, ระมัดระวังการแสดงออก, รู้ตัว, ไม่คะนอง, ไม่คลุกคลีในตระกูลทั้งหลาย


๓. นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ . . . . . เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง
สุขิโน วา เขมิโน โหนตุ . . . . . . . . . . . . สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา

ไม่ประพฤติสิ่งที่วิญญูชนตำหนิติเตียนได้, พึงแผ่เมตตาจิตว่า ขอสัตว์ทั้งปวง จงมีความสุขกายสบายใจ มีความเกษมสำราญเถิด

อารักขกัมมัฎฐาน

อารักขกัมมัฏฐาน
พุทธานุสสะติ  เมตตา  จะ,  อะสุภังภาวนาทั้ง  ๔  นี้,  คือพุทธานุสสะติ ระลึกถึงพระ
มะระณัสสะติ,  อิจจิมา  จะตุรารักขา,  พุทธเจ้า,  เมตตา  ปรารถนาให้เป็นสุข,  อะสุภะ,
กาตัพพา  จะ  วิปัสสะนา,พิจารณากายให้เห็นเป็นของไม่งาม,  มะระณะสติ,
ระลึกถึงความตาย,  ชื่อว่าจตุรารักข์  และวิปัสสนา
อันพึงบำเพ็ญ,
วิสุทธะธัมมะสันตาโน,  อะนุตตะรายะพระพุทธเจ้ามีพระสันดานอันบริบูรณ์ด้วยพระ
โพธิยา,  โยคะโต  จะ  ปะโพธา  จะ,ธรรมอันบริสุทธิ์, อันสัตว์โลกรู้อยู่ว่าพุทโธๆ ดังนี้
พุทโธ  พุทโธติ  ญายะเต,เพราะพระปัญญาตรัสรู้อย่างเยี่ยม,  เพราะทรงชัก
โยงหมู่สัตว์ไว้ในธรรมปฏิบัติ,  และเพราะทรง
ปลุกใจหมู่สัตว์ให้ตื่นอยู่
นะรานะระติรัจฉานะ  เภทา  สัตตาสัตว์ทั้งหลาย, ต่างโดยมนุษย์  อมนุษย์ และ
สุเขสิโน,  สัพเพปิ  สุขิโน  โหนตุ,ดิรัจฉาน,  เป็นผู้แสวงหาความสุข,  ขอให้สัตว์
สุขิตัตตา  จะเขมิโน,เหล่านั้นแม้ทั้งสิ้น,  จงเป็นผู้ถึงซึ่งความสุข,  และ
เป็นผู้เกษมสำราญ  เพราะถึงซึ่งความสุขเถิด,
เกสะ  โลมาทิฉะวานัง  อะยะเมวะกายนี้แล  เป็นที่ประชุมแห่งซากศพ  มีผมขน
สะมุสสะโย,  กาโย  สัพโพปิ  เชคุจโฉเป็นต้น,  แม้ทั้งสิ้น,  เป็นของน่าเบื่อหน่าย,  เป็น
วัณณาทิโต  ปะฏิกกุโล,ปฏิกกูลโดยส่วน  มีสี  เป็นต้น,
ชีวิตินทริยุปัจเฉทะ  สังขาตะมะระณัง  สิยา,ความตาย,  กล่าวคือความแตกขาดแห่งชีวิต
สัพเพ  สังปิธะ  ปาณีนัง  ตัณหิ  ธุวัง  นะอินทรีย์  พึงมีแด่สัตว์ทั้งหลายในโลกนี้แม้ทั้งสิ้น,
ชีวิตัง.เพราะว่าความตายเป็นของเที่ยง  ชีวิตความเป็น
อยู่เป็นของไม่เที่ยงแล ฯ


โอวาทะปาฏิโมกข์คาถา

ขันตี ปะระมัง ตะโป ตีติกขา, 
-ขันติ  คือความอดกลั้น  เป็นตบะอย่างยิ่ง,

นิพพานัง ปะระมัง วะทันติ พุทธา, 
-พระพุทธเจ้าทั้งหลายกล่าวว่านิพพาน  เป็นบรมธรรม, 

นะ หิ ปัพพะชิโต ปะรูปะฆาตี, 
-ผู้ทำร้ายคนอื่น  ไม่ชื่อว่าเป็นบรรพชิต, 

สะมะโณ โหติ ปะรัง วิเหฐะยันโต, 
-ผู้เบียดเบียนคนอื่น  ไม่ชื่อว่าเป็นสมณะ

สัพพะปาปัสสะ  อะกะระณัง  
-การไม่ทำชั่วทั้งปวง  
กุสะลัสสูปะสัมปะทา 
-การบำเพ็ญแต่ความดี  
สะจิตตะปะริโยทะปะนัง  
-การทำจิตของตนให้ผ่องใส  
เอตัง  พุทธานะ  สาสะนัง. 
-นี้เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย  
อะนูปะวาโท  อะนูปะฆาโต  
-การไม่กล่าวร้าย การไม่ทำร้าย    
ปาติโมกเข  จะ  สังวะโร 
-ความสำรวมในปาฏิโมกข์   
มัตตัญญุตา  จะ  ภัตตัส๎มิง  
-ความเป็นผู้รู้จักประมาณในอาหาร   
ปันตัญจะ  สะยะนาสะนัง 
-ที่นั่งนอนอันสงัด   
อะธิจิตเต  จะ  อาโยโค 
-ความเพียรในอธิจิต  
เอตัง  พุทธานะ  สาสะนันติ. 
-นี้เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า

สมณสัญญา

สมณสัญญา
(หันทะ มะยัง สะมะณะสัญญาปาฐัง ภะณามะ เส) 
สะมะณา สะมะณาติ โว ภิกขะเว ชะโน สัญชานาติ , - ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ประชุมชนย่อมรู้จักพวกเธอว่า สมณะๆ 
ตุมเห จะปะนะ เก ตุมเหหิ ปุฏฐา สะมานา , - ก็แหละพวกเธอ เมื่อเขาถามว่า ท่านทั้งหลายเป็นอะไร 
สะมะณัมหาติ ปะฏิชานาถะ , - ก็ปฏิญญาว่า พวกเราเป็นสมณะ 
เตสัง โว ภิกขะเว เอวัง สะมัญญานัง สะตัง , เอวัง ปฏิญญานัง สะตัง , - ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อพวกเธอนั้น มีชื่ออย่างนี้ มีปฏิญญาอย่างนี้ 
ยา สะมะณะสามีจิปะฏิปะทา , - จึงควรศึกษาอยู่ว่า ข้อปฏิบัติที่ดียิ่งของสมณะ อันใดมีอยู่ 
ตัง ปะฏิปะทัง ปะฏิปัชชิสสามะ , - เราทั้งหลาย จะปฏิบัติข้อปฏิบัติอันนั้น 
เอวันโน ,
- เมื่อพวกเราปฏิบัติอยู่อย่างนี้
อะยัง อัมหากัง สะมัญญา จะ สัจจา ภะวิสสะติ ปะฏิญญาจะ ภูตา , - ชื่อและปฏิญญานี้ของพวกเรา ก็จักเป็นความจริงแท้ 
เยสัญจะ มะยัง จีวะระ ปิณฑะปาตะ เสนาสนะ คิลานะ
ปัจจะยะเภสัชชะปริกขาเร ปะริภุญชามะ
 , - ใช่แต่เท่านั้น พวกเราบริโภคจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ
และคิลานปัจจัยเภสัชบริขาร ของทายกเหล่าใด 
เตสัง เต การา อัมเหสุ มะหัปผะลา ภะวิสสันติ มะหานิสังสา , - ปัจจัยทั้งหลายนั้น ของทายกเหล่านั้น ก็จักมี ผลมาก มีอานิสงส์มาก ในเพราะพวกเรา 
อัมหากัญเจวายัง ปัพพัชชา อะวัญฌา ภะวิสสะติ , - อนึ่ง การบรรพชาของเราก็จักไม่เป็นหมันเปล่า , 
สะผะลา สะอุทฺระยาติ , - จักมีผล มีความเจริญ . 
เอวัง หิ โว ภิกขะเว สิกขิตัพพัง.
- ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย , เธอทั้งหลายพึงศึกษาสำเหนียกอย่างนี้แล. 

จูฬอัสสปุรสูตร ว่าด้วยข้อปฏิบัติอันดียิ่งของสมณะ
พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ ( ภาษาไทย ) เล่มที่ ๑๒
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ หน้าที่ ๓๕๙ หัวข้อที่ ๔๗๙

มิตตามิตตคาถา

มิตตามิตตคาถา

           อัญญะทัตถุหโร  มิตโต,  มิตรปอกลอกนำไปถ่ายเดียว,   โย  จ  มิต

โต  วจีปะระโม,  มิตรใด,  มีวาจาปราศรัยเป็นอย่างยิ่ง,  อะนุปปิยัญจะ  โย

อาหุ,   มิตรใด,  กล่าวคำประจบ,  อะปาเยสุ  จะ  โย  สะขา,  มิตรใด,  เป็น

เพื่อนในความฉิบหาย,   เอเต   อะมิตเต  จัตตาโร อิติ  วิญญายะ  ปัณฑิโต,

บัณฑิตพิจารณาเห็นว่า,  ทั้ง  ๔  จำพวกนี้มิใช้มิตรแล้ว,  อาระกาปริวัชเชย

ยะ,  พึงหลีกเลี่ยงเสียให้ห่างไกล,  มัคคัง  ปฎิภะยังยะถา,  เหมือคนเดิน

ทาง,  เว้นทางอันมีภัยเสียฉะนั้น,  อุปะกาโร  จะ  โย  มิตโต,    มิตรใด,  มี

อุปการะ,  สุขะทุกโข  จะ  โย  สะขา,  เพื่อนใด,  ร่วมสุขร่วมทุกข์กันได้,  อัต

ถักขาขี  จะ  โย  มิตโต,  มิตรใด,  มีปกติบอกประโยชน์ให้,  โย จะ  มิตตานุ

กัมปะโก,  และมิตรใด,  เป็นผู้อนุเคราะห์เอ็นดูซึ่งมิตร,  เอเตปิ มิตเต  จัตตา

โร  อิติ  วิญญายะ  ปัณฑิโต,  บัณฑิตพิจารณาเห็นว่า,  ทั้ง  ๔  จำพวกนี้เป็น

มิตรจริงแล้ว,   สักกัจจัง  ปะยิรุปาเสยยะ,  พึงเข้าไปคบหาโดยเคารพ,

มาตา ปุตตังวะ  โอระสัง,  ให้เหมือนมารดากับบุตรอันเป็นโอรส ฉะนั้น ฯ

                                                                                     ที.  ปา.  ๒๐๑ - ๒๐๒

คารวกถา

คารวกคาถา 
สัตถุคะรุ ธัมมัคะรุ สังเฆ จะ ติพพะคาระโว 
ผู้เคารพหนักแน่นในพระศาสดา,ผู้เคารพหนักแน่นในพระธรรม,และผู้ที่เคารพหนักแน่นในพระสงฆ์,
สมาธิคะรุ อาตาปิ สิกขายะ ติพพะคารพโว,
ผู้มีความเพียรหนักแน่นในสมาธิ,ผู้มีความเพียรหนักแน่นในไตรสิกขา,
อัปปะมาทะคะรุ ภิกขุ ปะฏิสันถาระคาระโว,
ผู้เห็นภัยหนักแน่นในความไม่ประมาท,มีความเคารพในการปฏิสันถาร,
อะภัพโพ ปะริหานายะ นิพพานัสเสวะ สันติเก.
เป็นผู้ไม่เสื่อมถอย ย่อมเป็นผู้ปฏิบัติใกล้พระนิพพานโดยแท้แล.

วันจันทร์ที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2559

ธรรมะจาก facebook


กาลามสูตร มีอยู่ 10 ประการ ได้แก่
...
1.มา อนุสฺสวเนน - อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการฟังตามๆ กันมา
อย่างนี้เช่น การเรียนเวทย์มนต์จะมีสิ่งนั้นสิ่งนี้เกิดขึ้น จะต้องสอบสวนข้อมูลก่อน เพราะบ้างก็แต่งเติมไปมากฯ

2.มา ปรมฺปราย - อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการถือสืบๆ กันมา
คนทุกวันนี้ถือประเพณีจนลืมข้อวินัยที่ควรปฏิบัติต่อพระสงฆ์ไปหลายอย่างฯ

3.มา อิติกิราย - อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการเล่าลือ
ข่าวลือ ไม่ได้กรอง ก็ย่อมเป็นผลเสีย

4.มา ปิฏกสมฺปทาเนน - อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการอ้างตำราหรือคัมภีร์
แม้จะยกพระไตรปิฎกมาทั้งตู้ หากเราต้องการรู้จริง จะต้องปฏิบัติเองให้เห็นผล จึงจะรู้เอง

5.มา ตกฺกเหตุ - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะเดาว่าเป็นเหตุผลกัน
เช่น เราต้มฟักให้สุกได้ คิดว่าปลูกฟักอยู่พอมันออกผล จะเอาน้ำร้อนๆไปรดให้มันสุกเร็วๆ

6.มา นยเหตุ - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะการอนุมานคาดคะเน
เช่นปีนี้ฝนจะมากน้ำจะท่วม ก็เร่งปล่อยน้ำในเขื่อนให้หมดก่อน

7.มา อาการปริวิตกฺเกน - อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการเดาจากอาการที่เห็น
ถ้าเห็นข่าวพระเสื่อม พอเห็นพระที่ไหน ก็ว่าเสื่อมไ ปหมด

8.มา ทิฎฐินิชฺฌานกฺขนฺติยา - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะเข้ากันได้กับทฤษฎีที่พินิจไว้แล้ว
แรงโน้มถ่วงของโลก ก็อาจพลิกได้เสมอๆ เช่นเนินพิศวง.

9.มา ภพฺพรูปตา - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะผู้พูดมีลักษณะน่าเชื่อถือ
ปัจจุบันนี้ชอบกันจัง เช่นพระภิกษุถีบพระพุทธรูป คนก็ยังชื่นชม เป็นต้น และอีกหลายๆสำนักฯ ที่คารมดีๆ

10.มา สมโณ โน ครูติ - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะนับถือว่า ท่านสมณะนี้ เป็นครูของเรา
อันนี้ละเอียด เช่นอุปัชฌาย์ อาจารย์ เราต้องเคารพ แต่ถ้าท่านปฏิบัติผิด เราทราบว่าผิด ก็ไม่พึงทำตาม เช่นพระสารีบุตร ออกจากอาจารย์สัญชัยปริพาชกเป็นต้นฯ

====<<<《《《||》》》>>>====

เมื่อไม่นานมานี้ราว 4-5 ปีที่ผ่านมา มีข่าวของพระที่วิปลาส ถีบพระพุทธรูปออกข่าวดัง!
ขณะนั้นอาตมาเห็นข่าว ก็มิได้ขุ่นเคืองที่จะต้องไปว่าเขาให้เป็นไปอย่างถูกต้องตามใจเรา แต่ก็รู้ว่านั่นทำผิด ใครถามก็ว่าผิด! และให้ความเห็นแต่เพียง เขาผิดก็ต้องไปทางของเขา กรรมของเขา เท่านั้น..
สุดท้าย สิ่งเป็นธรรมก็ย่อมแสดงตัว เพราะเรากราบไหว้ตัวแทนพระพุทธเจ้า มิได้งมงายอย่างกราบเทวรูป แล้วขอให้เรามีแต่สุขสมหวัง..
อาตมากราบพระพุทธรูป ก็ขอให้เห็นจริงในธรรมที่พระองค์ทรงตรัสรู้ จะได้พ้นๆตามพระองค์ให้ไวๆสักที!
ก็มิใช่แต่อาตมาเท่านั้น ที่เคารพ.. มาดูหลักฐานคำเทศนาชองหลวงตามหาบัว เมื่อ 1 ม.ค. 2519 ดังนี้
....
เมื่อธรรมชาตินี้จริงขึ้นมาล้วนๆ ที่ใจแล้ว ตำราธรรมของพระพุทธเจ้า แม้ที่เขียนเป็นเศษกระดาษซึ่งตกอยู่ตามถนนหนทางยังไม่กล้าเหยียบย่ำ เพราะนั่นเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า เหยียบไม่ลง เพราะลงได้เคารพหลักใหญ่แล้ว ปลีกย่อยก็เคารพไปหมด พระพุทธรูปก็ตาม จะเป็นอะไรก็ตามที่เกี่ยวกับ “พุทธ ธรรม สงฆ์” แล้ว กราบอย่างถึงใจเพราะเชื่อหลักใหญ่แล้ว
        หลักใหญ่คืออะไร? คือหัวใจเราถึงความบริสุทธิ์ เพราะอำนาจแห่งธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าเป็นเครื่องชี้แจงแสดงบอกแนวทางให้รู้ทั้งเหตุและผล จึงเคารพไปหมด ดังท่านอาจารย์มั่นเป็นตัวอย่างในสมัยปัจจุบัน
         ในห้องนอนใดที่ถูกนิมนต์ไปพัก ถ้ามีหนังสือธรรมะอยู่ต่ำกว่าท่าน ท่านจะไม่ยอมนอนในห้องนั้นเลย ท่านจะยกหนังสือนั้นไว้ให้สูงกว่าศีรษะท่านเสมอ ท่านจึงยอมนอน
         “นี่ธรรมของพระพุทธเจ้า เราอยู่ด้วยธรรม กินด้วยธรรม เป็นตายเรามอบกับธรรม ปฏิบัติได้รู้ได้เห็นมากน้อยเพราะธรรมของพระพุทธเจ้าทั้งนั้น เราจะเหยียบย่ำทำลายได้อย่างไร! ท่านว่า “เอาธรรมมาอยู่ต่ำกว่าเราได้อย่างไร!” ท่านไม่ยอมนอน ยกตัวอย่างที่ท่านมาพักวัดสาลวันเป็นต้น ในห้องนั้นมีหนังสือธรรมอยู่ ท่านไม่ยอมนอน ให้ขนหนังสือขึ้นไว้ที่สูงหมด นี่แหละ! ลงเคารพละต้องถึงใจทุกอย่าง” เพราะธรรมถึงใจ
         ความเคารพ ไม่ว่าจะฝ่ายสมมุติไม่ว่าอะไรท่านเคารพอย่างถึงใจ ถึงเรียกว่า “สุดยอด” กราบพระพุทธรูปก็สนิท ไม่มีใครที่จะกราบสวยงามแนบสนิทยิ่งกว่าท่านอาจารย์มั่นในสมัยปัจจุบันนี้ เห็นประจักษ์ด้วยตากับใจเราเอง ความเคารพในอรรถในธรรมก็เช่นเดียวกัน แม้แต่รูปพระกัจจายนะ ที่อยู่ในซองยาพระกัจจายนะ พอท่านได้มา “โอ้โห ! พระกัจจายนะเป็นสาวกของพระพุทธเจ้านี่! ท่านรีบเทยาออก เอารูปเหน็บไว้เหนือที่นอนท่าน ท่านกราบ “นี่องค์พระสาวก นี่รูปของท่าน” นั่น! “มีความหมายแค่ไหนพระกัจจายนะ จะมาทำเป็นเล่นอย่างนี้ได้เหรอ?” แน่ะ! ฟังดูซิ
         นี่แหละเมื่อถึงใจแล้ว ถึงทุกอย่าง เคารพทุกอย่าง บรรดาสิ่งที่ควรเป็นของเคารพท่านเคารพจริง นั่น ท่านไม่ได้เล่นเหมือนปุถุชนคนหนาหรอก เหยียบโน่นเหยียบนี่เหมือนอย่างพวกเราทั้งหลาย เพราะไม่รู้นี่ คอยลูบๆ คลำๆ งูๆ ปลาๆ ไปในลักษณะของคนตาบอดนั้นแล ถ้าคนตาดีแล้วไม่เหยียบ อันไหนจะเป็นขวากเป็นหนามไม่ยอมเหยียบ สิ่งใดที่จะเป็นโทษเป็นภัยขาดความเคารพ ท่านไม่ยอมทำ นักปราชญ์ท่านเป็นอย่างนั้น ไม่เหมือนคนตาบอดเหยียบดะไปเลย โดยไม่คำนึงว่าควรหรือไม่ควร (เสียงเครื่องบินดังไม่หยุด ท่านเลยหยุดเทศน์)

~~~~~~~~~
ชีวิตยังมีอยู่.. จิตวิญญาณและสังขารก็ต้องมี..
เมื่อชีวิตมี ความเปลี่ยนแปลงเปลี่ยนไป ก็มีอยู่ตลอดเวลา..
เหมือนมีรถ มีล้อ ล้อก็หมุนทุกครั้งที่รถวิ่ง.. เราอยู่บนรถ อาจดูเหมือนว่าทุกอย่างบนรถมันคงเดิม.. แต่ล้อกำลังทำงาน ข้างทางก็เปลี่ยน.. ระยะทางจากจุดเริ่มต้นก็ไกลออกไปๆ จุดมุ่งหมายก็ใกล้เข้ามา..
ยางเป็นส่วนที่เราต้องเปลี่ยนอยู่บ่อย ถ้าเราสังเกตุ เพราะเหมือนเท้า เหมือนขา เมื่อเดินหรือวิ่งบ่อยๆก็เจ็บ ก็ล้า!
...
ธรรมนี้ ใครเห็นอนิจจะสัจจะธรรมบ้าง?
ใครเห็นทุกขะสัจจะธรรมบ้าง?
ใครเห็นอนัตตะสัจจะธรรมบ้าง?
...
ทุกครั้งที่ล้อหมุน... นั่นคือความเปลี่ยนแปลง!
การที่ล้อหมุน พลังงานที่บีบครั้นให้เคลื่อน คือทุกข์ ทำหน้าที่ให้ทนต่อสภาพเดิมไม่ได้!
การที่ล้อหมุนออกจากจุดเริ่มต้นๆก็เปลี่ยนไปจนลับตา
จุดเริ่มต้นที่หายไปแล้ว คืออนัตตา หมดจากความเป็นตัวตนไปแล้ว กลายเป็นอดีตที่ไม่มีในปัจจุบัน!
...
ขันธ์ทั้งหลายเป็นทุกข์ เราไปยึดก็ทุกข์ ปล่อยวางที่ใจ ใช้มันตามสมมุติ อย่าไปปล่อยวางแบบควาย! ไม่รับผิดชอบอะไร..
ทุกอย่างแสดงสภาพไตรลักษณ์อยู่ตลอด.. ถ้ามีปัญญาฯ

~~~~===~~~~

จิตตก..
นักปฏิบัติ. คงต้องเคยผ่านอาการนี้!
เพราะกิเลสมันคอยรบกวนอยู่อย่างนี้เป็นปกติ..จิตมันจึงตกลงไปหาสิ่งเศร้าหมอง..
คนที่ชอบเก็บกด พอสิ่งภายนอกเข้ามากระทบ มีสติตามไม่ทัน..
จิตมันจะคอยหลบเข้าไปที่เคยซุกเคยซ่อน.. เข้าไปเก็บตัว!
คิดว่ามันจะสงบหรือ?
มันไปซ่อนกับกิเลส จิตมันจะเอาอะไรไปสงบ?
ถ้าจะหลบผู้คนแล้วไปนั่งสมาธิ ให้จิตได้พักจะดีกว่า.. พักเอากำลังก่อน แล้วจึงออกมาพิจารณาสิ่งที่ถูกกระทบ อย่างนี้เรียกว่า..สะสาง!
ฝึกใหม่เสียเน้อ! ผู้ที่เก็บกด เก็บตัว แต่จิตผัวพันกับกิเลสไม่ได้พักได้ผ่อนน่ะ---

~~~~===~~~~

ธรรมดาของคน.. คือ อยู่นิ่ง อยู่เฉยไม่ได้.. แม้แต่คนที่ชอบพูดว่า "อยากอยู่เฉยๆ!"
เพราะจะให้อยู่เฉยๆได้อย่างไร? จะนั่งอยู่, จะนอนอยู่ ก็ต้องหายใจ แล้วเดี๋ยวก็หิว เดี๋ยวก็ดูโทรทัศน์ ฟังเพลง ฟังวิทยุ ฯลฯ สารพัดที่คนอยากอยู่เฉยๆจะทำ...
พอไปดูคนป่วยที่เขาให้นอนพัก ก็นอนนิ่งๆ แต่ภายนอก ถ้าเข้าไปในใจได้ โอย! จะเห็นความวุ่นวายอยู่ไม่สุข สารพัดเรื่อง...
เช่นกัน.. พระอรหันต์ ยามมีสังขารร่างกาย มีความคิด มีลมหายใจ ถึงจะอยู่ผู้เดียว จะอยู่นิ่งจริงๆ ต้องเข้าฌานสมาบัติ ดับสัญญาเวทนา นั่นแหละถึงเรียกว่าอยู่นิ่งจริงๆ หากออกจากฌานแล้ว มันก็ไม่นิ่ง...
แต่ความต่างกันของคนปุถุชนกับพระอรหันต์อยู่ตรงไหน?
อยู่ตรงที่จิตใจ.. ที่ขาดจากอำนาจของตัณหาแล้วทั้งปวง จึงไม่หลงไปอยาก ไปยึด ไปปรุง ไปแต่ง หรือ สำคัญมั่นหมายอะไรๆ ให้วุ่นวาย..
จึงเป็นความสงบ ที่อยู่ภายใน ส่วนภายนอกก็ขยับเขยื่อนเคลื่อนไหวไปตามแต่เหตุอันควร เพราะมีสติปัญญาอันครอบคลุมอย่างสมบูรณ์แล้ว..
แต่อย่างเราๆแล้ว หลับก็เพ้อฝัน กลางวันก็เพ้อเจ้อ ละเมอไปตามอยาก.. จึงทุกข์ยากอยู่ร่ำไป!
ดูให้ดีๆเถิดเราเป็นอย่างนี้ไหม? สิ่งไหนไม่มี ก็อยากมี อยากได้ ได้แล้ว ก็อยากเก็บเอาไว้ ไม่อยากให้ใคร แต่อยากอวดให้คนอื่นรู้ว่ามี.. พอนานเข้ากลับเบื่อ ก็อยากอีก คืออยากเอาไปให้พ้นๆ
สรุปให้ดูอย่างเห็นๆเลยว่า เราทุกข์ เพราะดิ้นรนไปตามความอยาก เช่น ตอนที่ยังหนุ่มยังสาว ก็อยากมีใครมาครอบครองหรือให้มาปกป้อง
คือบางคนชอบเถียงว่า ไม่ได้คิดอยากได้แต่ตกกระไดพลอยโจนไปกับเขา อย่างนี้ ไม่ได้อยากได้เพราะรัก แต่ลองทบทวนดูเถอะ ตัณหามี ๓ อย่างคือ
กามตัณหา, ภวตัณหา และ วิภวตัณหา
ถึงจะคิดว่าตัวมีครอบครัวแต่ไม่ได้อยากมี จริงๆแล้วปุถุชนย่อมมีความอยากเป็นพื้นฐานของจิตใจทุกดวง แต่อาจมิได้อยากมีเพราะกามตัณหา แต่กลัวภัยที่จะเกิดขึ้น ก็เป็นวิภวตัณหา หรือคิดว่า มีแล้วจะได้มีคนดูแลเรา พ่อแม่จะได้ไม่ต้องเป็นห่วง อย่างนี้ เป็นภวตัณหา เพราะอยากด้วยความยึดในประเพณีบ้าง อยากให้ถูกตามธรรมเนียมบ้าง ก็อยากอยู่ดี!
ดังนั้น..คนบนโลกนี้จึงได้รับทุกข์อยู่อย่างถ้วนหน้า จะพ้นได้ ก็ต้องมาศึกษาคำสอนในพุทธศาสนาให้ชัดเจนก่อน คือ ไม่ใช่ศึกษาเอาใบประกาศ หรือให้ใครมาชม, มายกยอสรรเสริญ แต่ต้องศึกษาทุกข์ที่เกิดในกายในจิตเราก่อนให้ชัดว่ามันเกิดจากอะไร? เอาให้เห็นเองให้ได้ ให้รู้ ให้ชัดจริงๆ ถ้าชัดแล้ว ก็จะรู้จักเหตุที่ทำให้เราต้องทุกข์..
ถ้าเป็นเช่นนี้ มันจึงจะเบื่อหน่าย มันจึงจะคลายความยึดมั่นลง มันจะเร่งภาวนาทั้งสมถะและวิปัสสนาตามทางแห่งอริยมรรค จนเห็นแจ้งในธรรมที่ควรเห็น ควรรู้ในจิตตน จึงเข้าใจเอง คราวนี้ จิตมันจะเห็นกายก็อันนึง เห็นว่ามันเป็นก้อนแห่งทุกข์ที่ต้องดูแลมันไป จะหลงไปยึดเข้าไว้ในใจเมื่อไร ใจก็จะทุกข์ แต่หากมีสติอยู่ ก็จะบริหารจัดการกายมันไปตามเรื่องตามเหตุเพียงเท่านั้น.. ก็หมดภาระในการแบกมันอีกต่อไป...
พยายามต่อไปเน้อ! ทุกๆคนที่คิดจะออกจากทุกข์ อย่าไปจมกับทุกข์มันมากจนแช่ติดกับมันจนท้อแท้ไปอีก..
ยามใดมีทุกข์ ให้นำทุกข์ที่มีในปัจจุบันมาพิจารณา ให้เห็นจริงๆ มันจึงจะเห็นตัณหาของตนในขณะนั้น ..
ส่วนใหญ่คนเราพอเจอทุกข์แล้ว ถ้าไม่ห่อเหี่ยวใจ ก็กลับไปสู้กับมันแบบทางโลก เอาตัณหาไปสู้กับมัน เหมือนขี่หลังเสืออยู่ จะไปเที่ยวหาเสือมาปราบ????
หลงทางแต่อยู่ในมุ้งแล้ว!!!
ฝึกภาวนาให้สติมั่นคง จิตมั่นคงอยู่เสมอๆ แล้วจึงจะเห็นเสือที่เราขี่หลังมันอยู่ได้ แล้วก็ปราบมันให้อยู่ล่ะ.. ไม่ใช่ลงไปทีไร มันคาบเอาไปกินทุกทีๆ
.. สาธุ เป็นกำลังใจให้ทุกๆคนฯ

|||====》》》《《《====|||

การศึกษา.. แม้จะมีมาก!
แต่ก็ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ตั้งมากมาย...
เพราะไปมุ่งเรียนกันแบบออกนอกตัว หมายความว่า พยายามเรียนสิ่งภายนอกตัว เพื่อแสวงหามาบำรุงบำเรอตัวตน
หลงว่า ตนเองมีสิ่งต่างๆแล้วจะมีสุข,
หลงว่าตนเองเป็นอย่างที่คิดหวัง แล้วจะมีสุข
เพราะหลงว่า ร่างกายที่มีอยู่ คือเรา คือตัวเรา, หลงว่าเราชื่อนี้,นามสกุลนี้, ชื่อเล่น-มีฉายาว่าอย่างนี้ๆ
ยึดเอาว่า หน้าตา ท่าทาง รูปร่าง ของเราเป็นอย่างนี้
หลงว่านี่คนที่เรารัก-นี่คนที่เราชัง..
ซึ่งความรู้ทางวิทยาศาสตร์หรือศาสตร์อื่นๆ ก็ไม่สามารถแก้ไขความทุกข์ที่เกิดขึ้นในจิตใจเราได้อย่างถาวร..
แม้คนที่เรียนพุทธศาสตร์มา ได้ระดับฐานะที่โลกยกย่องว่า เป็นผู้มีความรู้สูงก็ตาม ก็เป็นความรู้ที่อยู่ภายนอก ไม่ใช่ความรู้ภายใน ไม่สามารถแก้ไขความทุกข์ใจได้เช่นกัน..
จะสังเกตุได้จากสังคม ที่เห็นข่าวพระระดับนั้นนี้เกิดความเครียดจนฆ่าตัวตายไปเยอะแยะ นั่นเพราะเรียนเอาแค่จำไปสอบให้ได้วุฒิเท่านั้น ไม่ได้นำเอาความรู้มาใช้จริง...
แล้วอีกพวกคือ.. เรียนพุทธศาสตร์มามาก รู้มาก อธิบายได้ สอนคนอื่นได้อย่างละเอียด แต่หลงทางแบบง่ายๆก็มาก เช่น จบเปรียญสูงๆ พอสึกออกมา
1.เมาหัวลาน้ำ..,
2.หรือเขียนบทวิชาการอ้างอิงพุทธศาสตร์ แต่บทวิจารณ์คนอื่นๆ อ่านแล้วผู้รู้ก็รู้เลยว่า มีอารมณ์เครียดแค้น พยาบาท หมดความเมตตาปราณี ทั้งๆก็เขียนเรื่องพรหมวิหาร... แต่คนที่หัวรุนแรงชอบใจบทความที่ท่านเหล่านั้นวิจารณ์
อย่างนี้ หลงมองแต่คนอื่น เอาธรรมะไปว่าคนอื่น ลืมว่าเจ้าตัวก็แย่กว่าเขาอีก...
3.แล้วก็มีพระที่ยังไม่สึกหลายท่าน เรียนมาก เข้าใจมาก มีลูกศิษย์มาก อธิบายเก่ง ชักชวนให้หมู่คณะมาศึกษาธรรมที่ตนเองเข้าใจว่าเป็นทางพ้นทุกข์.. แต่! พระผู้รู้จริง ทราบว่าสิ่งที่ท่านนั้นเข้าใจ มันวิปลาสคลาดเคลื่อนจากแนวมรรค
อย่างนี้มีมานานแล้ว ตั้งแต่พุทธกาลก็มี ไม่ว่าพระโพธิกะหลงปริยัติ เป็นใบลานเปล่า แต่ตนยังมั่นใจจริงๆว่า ตนรู้ธรรม, และยังมีพระที่เข้าใจว่าผลของสมาธิที่ตนสำเร็จจนเป็นอภิญญา แสดงฤทธิได้ ว่าเป็นนิพพาน..
ในสมัยนี้ก็มีมาก ที่แตกฉานตำรา มีลูกศิษย์มาก แต่พอเห็นพฤติกรรม,คำพูด, การตอบคำถาม, การกล่าวแก้ปัญหาธรรม ก็มีสิ่งที่แสดงออกได้ว่า ยังเต็มไปด้วยสักกายทิฎฐิ มีการยึดข้อวัตรที่ผิดเพี้ยนไป เป็นสีลพัตตะปรามาส มุ่งการศึกษาแต่ในตำรา เน้นวิชาการ อ้างตำราเหมือนเด็กติดเกมส์ จิตไม่หลุดจากความสงสัย เพราะวิชาการย่อมไม่มีทางสิ้นสุด เป็นวิจิกิจฉา..
...
เพราะธรรมะในพุทธศาสตร์ เน้นให้เรียนแล้วนำมาหาความสว่างในตน พอเห็นตนทะลุปรุโปร่งแล้ว ก็หายสงสัย ถึงจะตอบเป็นภาษาวิชาการไม่ได้ ก็รู้ดีรู้ชั่วในตน ..
เวลาไปปฏิบัติ ความดีความชั่วแจ้งในจิตตนแล้ว เจตนาก็บริสุทธิ์ การรักษาศีลก็ไม่ล่วงเกินไปได้..
ความเห็นแก่ตัว ความมีทิฎฐิก็เป็นสัมมา คือเห็นอย่างถูกต้อง ว่าตนเกิดมาก็มีทุกข์ จะขนอะไรเข้ามาก็ทุกข์ทั้งนั้น มีอยู่มีใช้ไปวันๆก็พอแล้ว ไม่แบกตำรา ไม่แบกลูกศิษย์ ไม่แบกลาภสักการะ ไม่คิดเอาความดังมีชื่อเสียง เพราะเห็นจริงว่า ต่างคนต่างมีกรรมเป็นของตนๆ ใครขวนขวายแก้ไขตนก็ย่อมพ้นเอง ..
อธิบายธรรมก็เอา ณ ปัจจุบันธรรมไปอธิบาย ไม่ได้แบกเอาตำราอะไรที่ไหนไป กายกับจิตเราเป็นตำราเล่มใหญ่อยู่แล้ว เห็นธรรมในตน ก็เห็นตถาคตแล้วในตน พูดออกไป ก็เปรียบเป็นพุทธวจนได้..ถึงไม่เป็นพุทธวจน พระพุทธองค์ก็รับรองว่า เป็นธรรม
เพราะอะไรจึงว่าอย่างนั้น จะเอาตำรามาเปรียบให้ดู..
พระโกณฑัญญะฟังธัมมจักกัปปะวัตตนะสูตร แล้วอุทานมาว่า"ยังกิญจิฯ.." เป็นต้น พระพุทธเจ้าก็รับรองว่า ท่านกล่าวธรรมอย่างถูกต้อง แสดงว่า ไม่ใช่พุทธวจน แต่เป็นธรรม
พอพระอัสสชิ เอาธรรมไปกล่าวแก่พระสารีบุตร ก็กล่าวว่า" ธรรมเกิดแต่เหตุ..ฯ" ไปดูทั้งสองสูตรที่พระพุทธองค์สอนพระปัจจัควัคคีย์ ก็ไม่เห็นพระพุทธเจ้าสอนว่า ธรรมเกิดแต่เหตุ..
แต่พระพุทธองค์กลับรับรองว่า พระสารีบุตรเป็นพระโสดาบันแล้ว..
นี่แหละ ธรรมอยู่กับผู้เห็นธรรม เปรียบแล้วพระพุทธองค์ ก็รับรองว่าผู้แสดงธรรมถ้าเห็นธรรมจริง คำที่กล่าวก็เป็นธรรม..
เพราะหากพระพุทธเจ้าจำกัดแต่พุทธวจนแล้ว พระองค์ต้องไม่รับรองคำของพระโกณฑัญญะ และพระอัสสชิ..แน่นอนฯ

......

ทุกข์.. ใครๆก็คงรู้จัก, เคยประสบพบเจอกันมาทั้งนั้น.
ไม่เช่นนั้น เราคงจะไม่ดิ้นรนเวลาได้รับความทุกข์แน่ๆ.
อาตมากำลังจะโยงเข้าสู่ธรรม.. เพราะคนบนโลกนี้ เกือบทั้งนั้น ไม่เข้าใจความทุกข์อย่างถ่องแท้..
ทำไมจึงกล้าบอกเช่นนี้.. เพราะพระพุทธเจ้าทรงตรัสไว้ว่า สัตว์โลกทั้งหลาย มีแต่พระอริยเจ้าตั้งแต่พระโสดาบันเท่านั้น ที่รู้แจ้ง,รู้จริงในความทุกข์ของจริง ..
เพราะพระองค์ก็ยืนยันที่บทสวดธัมมะจักกัปปะวัตตะนะสูตตัง.. ว่าพระองค์ก็พึ่งทราบความจริงของทุกข์เมื่อได้ตรัสรู้ธรรมแล้ว..
ฉะนั้น.. ขอให้ทุกคนจงได้ใช้สติ คอยระวังจิตตนไม่ให้ฟุ้งซ่านได้แล้ว จึงนำปัญญามาพิจารณาความทุกข์ในกายในจิตตนให้ถ่องแท้ให้ได้เอง แล้วจะรู้ใส้รู้พุงของทุกข์จริงๆ ว่ามันต่างจากเดิมที่เคยรู้แต่เปลือกนอกเท่านั้น..แลฯ

ขึ้น/แรม ๑๕ ค่ำ

คิริมานนทสูตร

   เอวัมเม สุตัง ฯ, เอกัง สะมะยัง ภะคะวา, สาวัตถิยัง วิหะระติ, เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ, อาราเม, เตนะ โข ปะนะ
สะมะเยนะ อายัส๎มา คิริมานันโท, อาพาธิโก โหติ ทุกขิโต พาฬ๎หะคิลาโน ฯ,
อะถะโข อายัส๎มา อานันโท, เยนะ ภะคะวา เตนุปะสังกะมิ ฯ, อุปะสังกะมิต๎วา ภะคะวันตัง อะภิวาเทต๎วา เอกะมันตัง นิสีทิ ฯ, เอกะมันตัง นิสินโน โข อายัส๎มา อานันโท ภะคะวันตัง เอตะทะโวจะ ฯ,

อายัส๎มา ภันเต คิริมานันโท, อาพาธิโก ทุกขิโต พาฬ๎หะคิลาโน, สาธุ ภันเต ภะคะวา, เยนายัส๎มา คิริมานันโท เตนุปะสังกะมะตุ อะนุกัมปัง อุปาทายาติ ฯ, สะเจ โข ต๎วัง อานันทะ, คิริมานันทัสสะ ภิกขุโน อุปะสังกะมิต๎วา ทะสะ สัญญา ภาเสยยาสิ ฯ, ฐานัง โข ปะเนตัง วิชชะติ, ยัง คิริมานันทัสสะ ภิกขุโน ทะสะ สัญญา สุต๎วา, 
โส อาพาโธ ฐานะโส ปะฏิปปัสสัมเภยยะ ฯ, กะตะมา ทะสะ ฯ, อะนิจจะสัญญา อะนัตตะสัญญา, อะสุภะสัญญา อาทีนะวะสัญญา, ปะหานะสัญญา วิราคะสัญญา, นิโรธะสัญญา สัพพะโลเก อะนะภิระตะสัญญา, สัพพะสังขาเรสุ อะนิจจะสัญญา อานาปานัสสะติ ฯ,

1. กะตะมา จานันทะ อะนิจจะสัญญา ฯ , อิธานันทะ ภิกขุ อะรัญญะคะโต วา รุกขะมูละคะโต วา สุญญาคาระคะโต วา, อิติ ปะฏิสัญจิกขะติ, รูปัง อะนิจจัง, เวทะนา อะนิจจา, สัญญา อะนิจจา, 
สังขารา อะนิจจา, วิญญาณัง อะนิจจันติ ฯ, อิติ อิเมสุ ปัญจะสุ อุปาทานักขันเธสุ, อะนิจจานุปัสสี วิหะระติ ฯ, อะยัง วุจจะตานันทะ อะนิจจะสัญญา ฯ

2. กะตะมา จานันทะ อะนัตตะสัญญา ฯ อิธานันทะ ภิกขุ
อะรัญญะคะโต วา รุกขะมูละคะโต วา สุญญาคาระคะโต วา อิติ ปะฏิสัญจิกขะติ

จักขุง อะนัตตา,  รูปัง อะนัตตา  (ในหนังสือสวดมนต์ฉบับหลวงเป็น รูปา อนัตตา)
โสตัง อะนัตตา, สัททา อะนัตตา
ฆานัง อะนัตตา, คันธา อะนัตตา
ชิวหา อะนัตตา, ระสา อะนัตตา
กาโย อะนัตตา, โผฏฐัพพา อะนัตตา
มะโน อะนัตตา, ธัมมา อะนัตตาติ ฯ

อิติ อิเมสุ ฉะสุ อัชฌัตติกะพาหิเรสุ อายะตะเนสุ อะนัตตานุปัสสี วิหะระติ ฯ
อะยัง วุจจะตานันทะ อะนัตตะสัญญา ฯ

3. กะตะมา จานันทะ อะสุภะสัญญา ฯ อิธานันทะ ภิกขุ
อิมะเมวะ กายัง อุทธัง ปาทะตะลา อะโธ เกสะมัตถะกา
ตะจะปะริยันตัง ปูรันนานัปปะการัสสะ อะสุจิโน ปัจจะเวกขะติ
อัตถิ อิมัส๎มิง กาเย เกสา โลมา นะขา ทันตา ตะโจ มังสัง น๎หารู
อัฏฐี อัฏฐิมิญชัง วักกัง หะทะยัง ยะกะนัง กิโลมะกัง ปิหะกัง
ปัปผาสัง อันตัง อันตะคุณัง อุทะริยัง กะรีสัง มัตถะลุงคัง ปิตตัง เสม๎หัง ปุพโพ
โลหิตัง เสโท เมโท อัสสุ วะสา เขโฬ สิงฆาณิกา ละสิกา
มุตตันติ ฯ อิติ อิมัส๎มิง กาเย อะสุภานุปัสสี วิหะระติ ฯ
อะยัง วุจจะตานันทะ อะสุภะสัญญา ฯ

4. กะตะมา จานันทะ อาทีนะวะสัญญา ฯ อิธานันทะ ภิกขุ
อะรัญญะคะโต วา รุกขะมูละคะโต วา สุญญาคาระคะโต วา อิติ
ปะฏิสัญจิกขะติ พะหุทุกโข โข อะยัง กาโย พะหุอาทีนะโวติ ฯ อิติ
อิมัส๎มิง กาเย วิวิธา อาพาธา อุปปัชชันติ ฯ เสยยะถีทัง ฯ

จักขุโรโค โสตะโรโค ฆานะโรโค ชิวหาโรโค กายะโรโค สีสะโรโค กัณณะโรโค
มุขะโรโค ทันตะโรโค กาโส สาโส ปินาโส ฑะโห ชะโร กุจฉิโรโค
มุจฉา ปักขันทิกา สุลา วิสูจิกา กุฏฐัง คัณโฑ กิลาโส โสโส
อะปะมาโร ทันทุ กัณฑุ กัจฉุ ระขะสา วิตัจฉิกา โลหิตัง ปิตตัง
มะธุเมโห อังสา ปิฬะกา ภะคัณฑะลา ฯ ปิตตะสะมุฏฐานา
อาพาธาเสม๎หะสะมุฏฐานา อาพาธา วาตะสะมุฏฐานา อาพาธา สันนิปาติกา
อาพาธา อุตุปะริณามะชา อาพาธา วิสะมะปะระหาระชา อาพาธาโอปักกะมิกา
อาพาธา กัมมะวิปากะชา อาพาธา สีตัง อุณ๎หัง ชิฆัจฉา ปิปาสา อุจจาโร ปัสสาโวติ ฯ
อิติ อิมัส๎มิง กาเย อาทีนะวานุปัสสี วิหะระติ ฯ อะยัง วุจจะตานันทะ อาทีนะวะสัญญา ฯ

5. กะตะมา จานันทะ ปะหานะสัญญา ฯ อิธานันทะ ภิกขุ
อุปปันนัง กามะวิตักกัง นาธิวาเสติ ปะชะหะติ วิโนเทติ พ๎ยันตีกะโรติ
อะนะภาวัง คะเมติ อุปปันนัง พ๎ยาปาทะวิตักกัง นาธิวาเสติ ปะชะหะติ
วิโนเทติ พ๎ยันตีกะโรติ อะนะภาวัง คะเมติ อุปปันนัง วิหิงสาวิตักกัง
นาธิวาเสติ ปะชะหะติ วิโนเทติ พ๎ยันตีกะโรติ อะนะภาวัง คะเมติ
อุปปันนุปปันเน ปาปะเก อะกุสะเล ธัมเม นาธิวาเสติ ปะชะหะติ
วิโนเทติ พ๎ยันตีกะโรติ อะนะภาวัง คะเมติ ฯ
อะยัง วุจจะตานันทะ ปะหานะสัญญา ฯ

6. กะตะมา จานันทะ วิราคะสัญญา ฯ อิธานันทะ ภิกขุ
อะรัญญะคะโต วา รุกขะมูละคะโต วา สุญญาคาระคะโต วา อิติ ปะฏิสัญจิกขะติ
เอตัง สันตัง เอตัง ปะณีตัง ยะทิทัง สัพพะสังขาระสะมะโถ
สัพพูปะธิปะฏินิสสัคโค ตัณหักขะโย วิราโค นิพพานันติ ฯ
อะยัง วุจจะตานันทะ วิราคะสัญญา ฯ

7. กะตะมา จานันทะ นิโรธะสัญญา ฯ อิธานันทะ ภิกขุ
อะรัญญะคะโต วา รุกขะมูละคะโต วา สุญญาคาระคะโต วา อิติ ปะฏิสัญจิกขะติ
เอตัง สันตัง เอตัง ปะณีตัง ยะทิทัง สัพพะสังขาระสะมะโถ
สัพพูปะธิปะฏินิสสัคโค ตัณหักขะโย นิโรโธ นิพพานันติ ฯ
อะยัง วุจจะตานันทะ นิโรธะสัญญา ฯ

8. กะตะมา จานันทะ สัพพะโลเก อะนะภิระตะสัญญา ฯ
อิธานันทะ ภิกขุ เย โลเก อุปายุปาทานา เจตะโส อะธิฏฐานาภินิเวสานุสะยา
เต ปะชะหันโต วิระมะติ นะ อุปาทิยันโต ฯ
อะยัง วุจจะตานันทะ สัพพะโลเก อะนะภิะระตะสัญญา ฯ

9. กะตะมา จานันทะ สัพพะสังขาเรสุ อะนิจจะสัญญา ฯ
อิธานันทะ ภิกขุ สัพพะสังขาเรหิ อัฏฏิยะติ หะรายะติ ชิคุจฉะติ ฯ
อะยัง วุจจะตานันทะ สัพพะสังขาเรสุ อะนิจจะสัญญา ฯ

10. กะตะมา จานันทะ อานาปานัสสติ ฯ อิธานันทะ ภิกขุ
อะรัญญะคะโต วา รุกขะมูละคะโต วา สุญญาคาระคะโต วา
นิสีทะติ ปัลลังกัง อาภุชิต๎วา อุชุง กายัง ปะณิธายะ ปะริมุขัง สะติง อุปัฏฐะเปต๎วา ฯ
โส สะโต วา อัสสะสะติ สะโต 
วา ปัสสะสะติ ฯ
ทีฆัง วา อัสสะสันโต ทีฆัง อัสสะสามีติ ปะชานาติ
ทีฆัง วา ปัสสะสันโต ทีฆัง ปัสสะสามีติ ปะชานาติ
รัสสัง วา อัสสะสันโต รัสสัง อัสสะสามีติ ปะชานาติ
รัสสัง วา ปัสสะสันโต รัสสัง ปัสสะสามีติ ปะชานาติ


สัพพะกายะปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
สัพพะกายะปะฏิสังเวที ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ปัสสัมภะยัง กายะสังขารัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ปัสสัมภะยัง กายะสังขารัง ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ปีติปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ปีติปะฏิสังเวที ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
สุขะปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
สุขะปะฏิสังเวที ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ


จิตตะสังขาระปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
จิตตะสังขาระปะฏิสังเวที ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ปัสสัมภะยัง จิตตะสังขารัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ปัสสัมภะยัง จิตตะสังขารัง ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
จิตตะปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
จิตตะปะฏิสังเวที ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
อะภิปปะโมทะยัง จิตตัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
อะภิปปะโมทะยัง จิตตัง ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ


สะมาทะหัง จิตตัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
สะมาทะหัง จิตตัง ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
วิโมจะยัง จิตตัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
วิโมจะยัง จิตตัง ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
อะนิจจานุปัสสี อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
อะนิจจานุปัสสี ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
วิราคานุปัสสี อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
วิราคานุปัสสี ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ


นิโรธานุปัสสี อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
นิโรธานุปัสสี ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ปะฏินิสสัคคานุปัสสี อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ปะฏินิสสัคคานุปัสสี ปัสสะสิสสามีติ สิกขะติ


อะยัง วุจจะตานันทะ อานาปานัสสะติ ฯ
สะเจ โข ต๎วัง อานันทะ คิริมานันทัสสะ ภิกขุโน
อุปะสังกะมิต๎วา อิมา ทะสะ สัญญา ภาเสยยาสิ ฐานัง โข ปะเนตัง
วิชชะติ ยัง คิริมานันทัสสะ ภิกขุโน อิมา ทะสะ สัญญา สุต๎วา
โส อาพาโธ ฐานะโส ปะฏิปปัสสัมเภยยาติ ฯ

อะถะโข อายัส๎มา อานันโท ภะคะวะโต สันติเก อิมา ทะสะ
สัญญา อุคคะเหต๎วา เยนายัส๎มา คิริมานันโท เตนุปะสังกะมิ
อุปะสังกะมิต๎วา อายัส๎มะโต คิริมานันทัสสะ อิมา ทะสะ สัญญา อะภาสิ ฯ

อะถะโข อายัส๎มะโต คิริมานันทัสสะ อิมา ทะสะ สัญญา สุต๎วา

โส อาพาโธ ฐานะโส ปะฏิปัสสัมภิ ฯ วุฏฐะหิ จายัส๎มา
คิริมานันโท ตัมหา อาพาธา ตะถาปะหีโน จะ ปะนายัส๎มะโต
คิริมานันทัสสะ โส อาพาโธ อะโหสีติ ฯ

ขึ้น/แรม ๑๔ ค่ำ

 ภิกขุอะปะริหานิยะธัมมะสุตตัง

เอวัมเม  สุตัง.  เอกัง  สะมะยัง ภะคะวา,  ราชะคะเห  วิหะระติ, คิชฌะกูเฎ  ปัพพะเต,  ตัตตระ โข  ภะคะวา  ภิกขู อามันเตสิ.  สัตตะ โว ภิกขะเว  อะปะริหาริเย  ธัมเม  เทเสสสามิ,  ตัง  สุณาถะ  สาธุกัง  มะนะสิกะโรถะ  ภาสิสสามีติ.  เอวัมภันเตติ  โข เต ภิกขู  ภะคะวะโต  ปัจจัสโสสุง.  ภะคะวา  เอตะทะโวจะ. กะตะเม  จะ ภิกูขะเว  สัตตะ อะปะริหานิยา  ธัมมา.

          ๑. ยาวะกีวัญจะ ภิกขะเว  ภิกขู,อะภิณหะสันนิปาตา  ภะวิสสันติ  สันนิปาตะพะหุลา,  วุฑฒิเยวะ  ภิกขะเว   ภิกขูนัง  ปาฏิกังขา  โน  ปะริหานิ.

          ๒. ยาวะกีวัญจะ  ภิกขะเว  ภิกขู , สะมัคคา  สันนิปะติสสันติ , สะมัคคา  วุฏฐะหิสสันติ,  ภิกขูนัง  ปาฏิกังขา โน  ปะริหานิ.

          ๓. ยาวะกีวัญจะ  ภิกขะเว  ภิกขู , อะปัญญัตตัง  นะ  ปัญญะเปสสันติ ,  ปัญญัตตัง นะ สะมุจฉินทิสสันติ, ยะถาปัญญัตเตสุ  สิกขาปะเทสุ  สะมาทายะ  วัตติสสันติ, วุฑฒิเยวะ  ภิกขะเว  ภิกขูนัง  ปาฏิกังขา โน  ปะริหานิ.

          ๔. ยาวะกีวัญจะ  ภิกขะเว  ภิกขู, เย เต ภิกขู  เถรา  รัตตัญญู  จิระปัพพะชิตา,  สังฆะปิตะโร  สังฆะปะริณายะกา,  เต สักกะริสสันติ  คะรุกะริสสันติ  มาเนสสันติ  ปูเชสสันติ,  เตสัญจะ  โส ตัพพัง  มัญญิสสันติ,  วุฑฒิเยวะ  ภิกขะเว  ภิกขูนัง  ปาฏิกังขา  โน  ปะริหานิ.

          ๕. ยาวะกีวัญจะ  ภิกขะเว  ภิกขู,  อุปปันนายะ  ตัณหายะ  โปโนพภะวิกายะ  โน  วะสัง  คัจฉินสันติ , วุฑฒิเยวะ  ภิกขะเว  ภิภขูนัง  ปาฏิกังขา  โน  ปะริหานิ.

          ๖. ยาวะกีวัญจะ  ภิกขะเว  ภิกขู, อารัญญะเกสุ  เสนาสะเนสุ  สาเปกขา  ภะวิสสันติ,วุฑฒิเยวะ  ภิกขะเว  ภิกขูนัง  ปาฏิกังขา  โน  ปะริหานิ.

           ๗. ยาวะกีวัญจะ ภิกขะเว ภิกขู , ปัจจัตตัญเญวะ  สะติงอุปัฏฐะเปสสันติ , กินติ  อะนาคะตา จะ เปสะลา  สะพรัหมะจารี  อาคัจเฉยยุง, อาคะตา  จะ  เปสะลา  สะพรัหมะจารี  ผาสุงวิหะเรยยุนติ ,วุฑฒิเยวะ  ภิกขะเว  ภิกขูนัง  ปาฏิกังขา โน ปะริหานิ.

           ยาวะกีวัญจะ  ภิกขะเว  อิเม  สัตตะ  อะปะริหานิยา  ธัมมา  ภิกขูสุ  ฐัสสันติ,  อิเมสุ  จะ สัตตะสุ  อะปะริหานิเยสุ  ธัมเมสุ ภิกขู  สันทิสสิสสันติ, วุฑฒิเยวะ  ภิกขะเว  ภิกขูนัง  ปาฏิกังขา โน ปะริหานีติ.  อิทะมะโวจะ  ภะคะวา.  อัตตะมะนา  เต  ภิกขู ภะคะวะโต  ภาสิตัง  อะภินันทุนติ.


มัคคะวิภังคะสุตตัง
..........เอวัมเม สุตัง เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ
เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ อาราเม ตัตระ โข ภะคะวา ภิกขู
อามันเตสิ ภิกขะโวติ. ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต ปัจจัสโสสุง
ภะคะวา เอตะทะโวจะ อะริยัง โว ภิกขะเว อัฏฐังคิกัง มัคคัง เทสิสสามิ
วิภะชิสสามิ ตัง สุณาถะ สาธุกัง มะนะสิกะโรถะ ภาสิสสามีติ. เอวัม-
ภันเตติ โข เต ภิกขู ภะคะวะโต ปัจจัสโสสุง. ภะคะวา เอตะทะโวจะ.
..........กะตะโม จะ ภิกขะเว อะริโย อัฏฐิงคิโก มัคโค เสยยะถีทัง สัมมาทิฏฐิ
สัมมาสังกัปโป สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว สัมมาวายาโม
สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ.
..........กะตะมา จะ ภิกขะเว สัมมาทิฏฐิ ยัง โข ภิกขะเว ทุกเข ญาณัง
ทุกขะสะมุทะเย ญาณัง ทุกขะนิโรเธ ญาณัง ทุกขะนิโรธะคามินิยา
ปะฏิปะทายะ ญาณัง อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมาทิฏฐิ.
กะตะโม จะ ภิกขะเว สัมมาสังกัปโป โย โข ภิกขะเว เนกขัมมะ-
สังกัปโป อัพยาปาทะสังกัปโป อะวิหิงสาสังกัปโป. อะยัง วุจจะติ
ภิกขะเว สัมมาสังกัปโป.
..........กะตะมา จะ ภิกขะเว สัมมาวาจา ยา โข ภิกขะเว มุสาวาทา
เวระมะณี ปิสุณายะ วาจายะ เวระมะณี ผะรุสายะ วาจายะ เวระมะณี
สัมผัปปะลาปา เวระมะณี. อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมาวาจา.
..........กะตะโม จะ ภิกขะเว สัมมากัมมันโต. ยา โข ภิกขะเว
ปาณาติปาตา เวระมะณี อะทินนาทานา เวระมะณี อะพรัหมะจะริยา
เวระมะณี อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมากัมมันโต.
..........กะตะโม จะ ภิกขะเว สัมมาอาชีโว. อิธะ ภิกขะเว อะริยะ-
สาวะโก มิจฉาอาชีวัง ปะหายะ สัมมาอาชีเวนะ ชีวิกัง กัปเปติ
อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมาอาชีโว.
..........กะตะโม จะ ภิกขะเว สัมมาวายาโม อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ
อะนุปปันนานัง ปาปะกานัง อะกุสะลานัง ธัมมานัง อะนุปปาทายะ
ฉันทัง ชะเนติ วายะมะติ วิริยัง อาระภะติ จิตตัง ปัคคัณหาติ
ปะทะหะติ. อุปปันนานัง ปาปะกานัง อะกุสะลานัง ธัมมานัง
ปะหานายะ ฉันทัง ชะเนติ วายะมะติ วิริยัง อาระภะติ จิตตัง
ปัคคัณหาติ ปะทะหะติ อะนุปปันนานัง กุสะลานัง ธัมมานัง
อุปปาทายะ ฉันทัง ชะเนติ วายะมะติ วิริยัง อาระภะติ จิตตัง
ปัคคัณหาติ ปะทะหะติ. อุปปันนานัง กุสะลานัง ธัมมานัง ฐิติยา
อะสัมโมสายะ ภิยโยภาวายะ เวปุลลายะ ภาวะนายะ ปาริปูริยา
ฉันทัง ชะเนติ วายะมะติ วิริยัง อาระภะติ จิตตัง ปัคคัณหาติ
ปะทะหะติ. อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมาวายาโม.
..........กะตะมา จะ ภิกขะเว สัมมาสะติ. อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ
กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ อาตาปี สัมปะชาโน สะติมา วิเนยยะ
โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง เวทะนาสุ เวทะนานุปัสสี วิหะระติ
อาตาปี สัมปะชาโน สะติมา วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง
จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ อาตาปี สัมปะชาโน สะติมา วิเนยยะ
โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง. ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี วิหะระติ อาตาปี
สัมปะชาโน สะติมา วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง, อะยัง
วุจจะติ ภิกขะเว สัมมาสะติ.
..........กะตะโม จะ ภิกขะเว สัมมาสะมาธิ อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ
วิวิจเจวะ กาเมหิ วิวิจจะ อะกุสะเลหิ ธัมเมหิ สะวิตักกัง สะวิจารัง
วิเวกะชัมปีติสุขัง ปะฐะมัง ฌานัง อุปะสัมปัชชะ วิหะระติ
วิตักกะวิจารานัง วูปะสะมา อัชฌัตตัง สัมปะสาทะนัง เจตะโส
เอโกทิภาวัง อะวิตักกัง อะวิจารัง สะมาธิชัมปีติสุขัง ทุติยัง ฌานัง
อุปะสัมปัชชะ วิหะระติ ปีติยา จะ วิราคา อุเปกขะโก จะ วิหะระติ
สะโต จะ สัมปะชาโน สุขัญจะ กาเยนะ ปะฏิสังเวเทติ ยันตัง
อะริยา อาจิกขันติ อุเปกขะโก สะติมา สุขะวิหารีติ ตะติยัง ฌานัง
อุปสัมปัชชะ วิหะรติ สุขัสสะ จะ ปะหานา ทุกขัสสะ จะ ปะหานา
ปุพเพ วะ โสมะนัสสะโทมะนัสสานัง อัตถังคะมา อะทุกขะมะสุขัง
อุเปกขาสะติปาริสุทธิง จะตุตถัง ฌานัง อุปะสัมปัชชะ วิหะระติ
อะยัง วุจจะติ ภิกขะเว สัมมาสะมาธีติ. อิทะมะโวจะ ภะคะวา
อัตตะมะนา เต ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุนติ.

ขึ้น/แรม ๑๓ ค่ำ

โอวาทะปาฏิโมกขาทิปาโฐ
............อุททิฏฐัง โข เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปัสสะตา
อะระหะตา สัมมาสัมพุทเธนะ โอวาทะปาฏิโมกขัง ตีหิ คาถาหิ
......................ขันตี ปะระมัง ตะโป ตีติกขา
......................นิพพานัง ปะระนัง วะทันติ พุทธา
......................นะ หิ ปัพพะชิโต ปะรูปะฆาตี
......................สะมะโณ โหติ ปะรัง วิเหฐะยันโต
......................สัพพะปาปัสสะ อะกะระณัง กุสะลัสสูปะสัมปะทา
......................สะจิตตะปะริโยทะปะนัง เอตัง พุทธานะ สาสะนัง
......................อะนูปะวาโท อะนูปะฆาโต ปาฏิโมกเข จะ สังวะโร
......................มัตตัญญตา จะ ภัตตัสมิง ปันตัญจะ สะยะนาสะนัง
......................อะธิจิตเต จะ อาโยโค เอตัง พุทธานะ สาสะนันติ
......................อะเนกะปะริยเยนะ โข ปะนะ เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา
ปัสสะตา อะระหะตา สัมมาสัมพุทเธนะ สีลัง สัมมะทักขาตัง
สะมาธิ สัมมะทักขาโต ปัญญา สัมมะทักขาตา


............กะถัญจะ สีลัง สัมมะทักขาตัง ภะคะวะตา. เหฏฐิเมนะปิ
ปะริยาเยนะ สีลัง สัมมะทักขาตัง ภะคะวะตา. อุปะริเมนะปิ
ปะริยาเยนะ สีลัง สัมมะทักขาตัง ภะคะวะตา. กะถัญจะ เหฏฐิเมนะ
ปะริยาเยนะ สีลัง สัมมะทักขาตัง ภะคะวะตา อิธะ อะริยะสาวะโก
ปาณาติปาตา ปะฏิวิระโต โหติ อะทินนาทานา ปะฏิวิระโต โหติ
กาเมสุ มิจฉาจารา ปะฏิวิระโต โหติ มุสาวาทา ปะฏิวิระโต โหติ
สุราเมระยะมัชชัปปะมาทัฏฐานา ปะฏิวิระโต โหตีติ. เอวัง โข
เหฏฐิเมนะ ปะริยาเยนะ สีลัง สัมมะทักขาตัง ภะคะตา กะถัญจะ
อุปะริเมนะ ปะริยาเยนะ สีลัง สัมมะทักขาตัง ภะคะวะตา. อิธะ
ภิกขุ สีละวา โหติ ปาฏิโมกขะสังวะระสังวุโต วิหะระติ
อาจาระโคจะระสัมปันโน อะณุมัตเตสุ วัชเชสุ ภะยะทัสสาวี
สะมาทายะ สิกขะติ สิกขาปะเทสูติ เอวัง โข อุปะริเมนะ
ปะริยาเยนะ สีลัง สัมะทักขาตัง ภะคะวะตา.


............กะถัญจะ สะมาธิ สัมมะทักขาโต ภะคะวะตา. เหฏฐิเมนะปิ
ปะริยาเยนะ สมาธิ สัมมะทักขาโต ภะคะวะตา. อุปะริเมนะปิ
ปะริยาเยนะ สะมาธิ สัมมะทักขาโต ภะคะวะตา. กะถัญจะ
เหฏฐิเมนะ ปะริยาเยนะ สะมาธิ สัมมะทักขาโต ภะคะวะตา. อิธะ
อะริยะสาวะโก โวสสัคคารัมมะณัง กะริตวา ละภะติ สะมาธิง
ละภะติ จิตตัสเสกัคคะตันติ. เอวัง โข เหฏฐิเมนะ ปะริยาเยนะ
สะมาธิ สัมมะทักขาโต ภะคะวะตา. กะถัญจะ อุปะริเมนะ
ปะริยาเยนะ สะมาธิ สัมมะทักขาโต ภะคะวะตา. อิธะ ภิกขุ
วิวิจเจวะ กาเมหิ วิวิจจะ อะกุสะเลหิ ธัมเมหิ สะวิตักกัง สะวิจารัง
วิเวกะชัมปีติสุขัง ปะฐะมัง ฌานัง อุปะสัมปัชชะ วิหะระติ วิตักกะ-
วิจารานัง วูปะสะมา อัชฌัตตัง สัมปะสาทะนัง เจตะโส เอโกทิภาวัง
อะวิตักกัง อะวิจารัง สะมาธิชัมปีติสุขัง ทุติยัง ฌานัง อุปะสัมปัชชะ
วิหะระติ ปีติยา จะ วิราคา อุเปกขะโก จะ วิหะระติ สะโต จะ
สัมปะชาโน สุขัญจะ กาเยนะ ปะฏิสังเวเทติ ยันตัง อะริยา
อาจิกขันติ อุเปกขะโก สะติมา สุขะวิหารีติ ตะติยัง ฌานัง
อุปะสัมปัชชะ วิหะระติ. สุขัสสะ จะ ปะหานา ทุกขัสสะ จะ
ปะหานา ปุพเพ วะ โสมะนัสสะโทมะนัสสานัง อัตถังคะมา
อะทุกขะมะสุขัง อุเปกขาสะติปาริสุทธิง จะตุตถัง ฌานัง อุปะสัมปัชชะ
วิหะระตีติ. เอวัง โข อุปะริะเมนะ ปะริยาเยนะ สะมาธิ สัมมะทักขาโต
ภะคะวะตา.


............กะถัญจะ ปัญญา สัมมะทักขาตา ภะคะวะตา. เหฏฐิเมนะปิ
ปะริยาเยนะ ปัญญา สัมมะทักขาตา ภะคะวะตา. อุปะริเมนะปิ
ปะริยาเยนะ ปัญญา สัมมะทักขาตา ภะคะวะตา. กะถัญจะ
เหฏฐิเมนะ ปะริยาเยนะ ปัญญา สัมมะทักขาตา ภะคะวะตา. อิธะ
อะริยะสาวะโก ปัญญะวา โหติ อุทะยัตถะคามินิยา ปัญญายะ
สะมันนาคะโค อะริยายะ นิพเพธิกายะ สัมมา ทุกขักขะยะคามินิยาติ.
เอวัง โข เหฏฐิเมนะ ปะริยาเยนะ ปัญญา สัมมะทักขาตา
ภะคะวะตา. กะถัญจะ อุปะริเมนะ ปะริยาเยนะ ปัญญา สัมมะทักขาตา
ภะคะวะตา. อิธะ ภิกขุ อิทัง ทุกขันติ ยะถาภูตัง ปะชานาติ. อะยัง
ทุกขะสะมุทะโยติ ยะถาภูตัง ปะชานาติ. อะยัง ทุกขะนิโรโธติ
ยะถาภูตัง ปะชานาติ. อะยัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทาติ
ยะถาภูตัง ปะชานาติ. เอวัง โข อุปะริเมนะ ปะริยาเยนะ ปัญญา
สัมมะทักขาตา ภะคะวะตา.


............สีละปะริภาวิโต สะมาธิ มะหัปผะโล โหติ มะหานิสังโส
สะมาธิปะริภาวิตา ปัญญา มะหัปผะลา โหติ มะหานิสังสา
ปัญญาปะริภาวิตัง จิตตัง สัมมะเทวะ อาสะเวหิ วิมุจจะติ. เสยยะถีทัง.
กามาสะวา ภะวาสะวา อะวิชชาสะวา. ภาสิตา โข ปะนะ ภะคะวะตา
ปะรินิพพานะสะมะเย อะยัง ปัจฉิมะวาจา หันทะทานิ ภิกขะเว
อามันตะยามิ โว วะยะธัมมา สังขารา อัปปะมาเทนะ
สัมปาเทถาติ. ภาสิตัญจิทัง ภะคะวะตา เสยยะถาปิ ภิกขะเว
ยานิ กานิจิ ชังคะลานัง ปาณานัง ปะทะชาตานิ สัพพานิ ตานิ
หัตถิปะเท สะโมธานัง คัจฉันติ หัตถิปะทัง เตสัง อัคคะมักขายะติ
ยะทิทัง มะหันตัตเตนะ. เอวะเมวะ โข ภิกขะเว เย เกจิ กุสะลา
ธัมมา สัพเพ เต อัปปะมาทะมูละกา อัปปะมาทะสะโมสะระณา
อัปปะมาโท เตสัง อัคคะมัคขายะตีติ. ตัสมาติหัมเหหิ สิกขิตัพพัง
ติพพาเปกขา ภะวิสสามะ อะธิสีละสิกขาสะมาทาเน อะธิจิตตะสิก-
ขาสะมาทาเน อะธิปัญญาสิกขาสะมาทาน อัปปะมาเทนะ สัมปาเทส-
สามาติ. เอวัญหิ โน สิกขิตัพพัง

ขี้น/แรม ๑๒ ค่ำ

พระวินัย

..........ยันเตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปั สสะตา อะระหะตา
สั มมาสั มพุทเธนะ ปะฐะมัง ปาราชิกัง กัตถะ ปัญญัตตั นติ ฯ
เวสาลิยัง ปัญญัตตันติ ฯ กัง อารัพภาติ ฯ สุทินนัง กะลันทะปุตตัง
อารัพภาติ ฯ กัส๎มิ ง วัตถุ ส๎ มินติ ฯ สุทินโน กะลันทะปุตโต
ปุราณะทุติยิกายะ เมถุนัง ธัมมัง ปะฏิเสวิ ตัส๎มิง วัตถุส๎มินติ ฯ
..........เตนะ สะมะเยนะ พุ ทโธ ภะคะวา เวรัญชายัง วิ หะระติ นะ
เฬรุปุ จิมั นทะมู เล มะหะตา ภิ กขุ สังเฆนะ สัทธิ ง ปัญจะมัตเตหิ
ภิกขุสะเตหิ ฯ
..........อัสโสสิ โข เวรัญโช พราหมะโณ สะมะโณ ขะลุ โภ โคตะโม
สั ก๎ยะปุตโต สั ก๎ยะกุลา ปัพพะชิโต เวรัญชายัง วิ หะระติ นะ
เฬรุปุ จิมั นทะมู เล มะหะตา ภิ กขุ สังเฆนะ สัทธิ ง ปัญจะมัตเตหิ
ภิกขุสะเตหิ
..........ตังโข ปะนะ ภะวันตัง โคตะมัง เอวัง กัล๎ยาโณ กิตติ สัทโท
อัพภุคคะโต อิติ ปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสั มพุ ทโธ
วิ ชชาจะระณะสั มปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุ ตตะโร
ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ ฯ
..........โส อิมัง โลกัง สะเทวะกั ง สะมาระกัง สะพรั หมะกั ง
สั สสะมะณะพราหมะณิ ง ปะชัง สะเทวะมะนุ สสั ง สะยั ง
อะภิญญา สัจฉิกัต๎วา ปะเวเทติ โส ธัมมั ง เทเสติ อาทิกัล๎ยาณัง
มัชเฌกัล๎ ยาณัง ปะริโยสานะกัล๎ ยาณัง สาตถัง สะพยัญชะนั ง
เกวะละปะริปุณณัง ปะริสุทธัง พรัหมะจะริยัง ปะกาเสติ ฯ
..........สาธุ โข ปะนะ ตะถารูปานัง อะระหะตัง ทัสสะนัง โหตีติ ฯ

พระสูตร (สวดแจง)


..........เอวัมเม สุ ตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา อันตะรา จะ
ราชะคะหัง อันตะรา จะ นาลันทัง อัทธานะมัคคะปะฏิปันโน โหติ
มะหะตา ภิกขุสังเฆนะ สัทธิ ง ปัญจะมัตเตหิ ภิกขุสะเตหิ ฯ
สุปปิโยปิ โข ปะริพพาชะโก อันตะรา จะ ราชะคะหัง อันตะรา จะ
นาลันทัง อัทธานะมัคคะปะฏิปันโน โหติ สัทธิง อันเตวาสินา
พรัหมะทัตเตนะ มาณะเวนะ ฯ ตัต๎ระ สุทัง สุปปิโย ปะริพพาชะโก
อะเนกะปะริยาเยนะ พุทธัสสะ อะวัณณัง ภาสะติ ธัมมัสสะ
อะวัณณั ง ภาสะติ สังฆั สะ อะวัณณั ง ภาสะติ ฯ สุปปิยัสสะ
ปะนะ ปะริพพาชะกัสสะ อันเตวาสี พรั หมะทั ตโต มาณะโว
อะเนกะปะริยาเยนะ พุทธัสสะ วัณณัง ภาสะติ ธัมมัสสะ วัณณัง
ภาสะติ สั งฆั สสะ วั ณณัง ภาสะติ ฯ อิติ หะ เต อุ โภ
อาจะริยันเตวาสี อั ญญะมัญญัสสะ อุชุวิปั จจะนิ กะวาทา
ภะคะวันตัง ปิฏฐิโต ปิฏฐิโต อะนุพันธา โหนติ ภิกขุสังฆัญจะ ฯ

พระสังคิณี

กุสะลา ธัมมา อะกุสะลา ธัมมา อัพยากะตา ธัมมา ฯ กะตะเม ธัมมา กุสะลา ฯ ยัสมิง สะมะเย กามาวะจะรัง กุสะลัง จิตตัง อุปปันนัง โหติ โสมะนัสสะสะหะคะตัง ญาณะสัมปะยุตตัง รูปารัมมะณัง วา สัททารัมมะณัง วา คันธารัมมะณัง วา ระสารัมมะณัง วา โผฏฐัพพารัมมะณัง วา ธัมมารัมมะณัง วา ยัง ยัง วา ปะนารัพภะ ตัสมิง สะมะเย ผัสโส โหติ อะวิกเขโป โหติ เย วา ปะนะ ตัสมิง สะมะเย อัญเญปิ อัตถิ ปะฏิจจะสะมุปปันนา อะรูปิโน ธัมมา อิเม ธัมมา กุสะลา ฯ

พระวิภังค์

ปัญจักขันธา รูปักขันโธ เวทะนากขันโธ สัญญากขันโธ สังขารักขันโธ วิญญาณักขันโธฯ ตัตถะ กะตะโม รูปักขันโธ ฯ ยังกิญจิ รูปัง อะตีตานาคะตะปัจจุปปันนัง อัชฌัตตัง วา พะหิทธา วา โอฬาริกัง วา สุขุมัง วา หีนัง วา ปะณีตัง วา ยัง ทูเร วา สันติเก วา ตะเทกัชฌัง อะภิสัญญูหิตวา อะภิสังขิปิตวา อะยัง วุจจะติ รูปักขันโธฯ

พระธาตุกะถา

สังคะโห อะสังคะโหฯ สังคะหิเตนะ อะสังคะหิตัง อะสังคะหิเตนะ สังคะหิตัง สังคะหิเตนะ สังคะหิตัง อะสังคะหิเตนะ อะสังคะหิตัง ฯ สัมปะโยโค วิปปะโยโค ฯ สัมปะยุตเตนะ วิปปะยุตตัง วิปปะยุตเตนะ สัมปะยุตตัง อะสังคะหิตัง ฯ

พระปุคคะละปัญญัตติ

ฉะ ปัญญัตติโย ขันธะปัญญัตติ อายะตะนะปัญญัตติ ธาตุปัญญัตติ สัจจะปัญญัตติ อินทริยะปัญญัตติ ปุคคะละปัญญัตติ ฯ กิตตาวะตา ปุคคะลานัง ปุคคะละปัญญัตติ ฯ สะมะยะวิมุตโต อะสะมะยะวิมุตโต กุปปะธัมโม อะกุปปะธัมโม ปะริหานะธัมโม อะปะริหานะธัมโม เจตะนาภัพโพ อะนุรักขะนาภัพโพ ปุถุชชะโน โคตระภู ภะยูปะระโต อะภะยูปะระโต ภัพพาคะมะโน อะภัพพาคะมะโน นิยะโต อะนิยะโต ปะฏิปันนะโก ผะเลฏฐิโต อะระหาอะระหัตตายะ ปะฏิปันโน ฯ

พระกะถาวัตถุ

ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติ อามันตาฯ โย สัจฉิกัตโถ ปะระมัตโถ ตะโต โส ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติ ฯ นะ เหวัง วัตตัพเพ ฯ อาชานาหิ นิคคะหัง หัญจิ ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนะ เตนะ วะ ตะ เร วัตตัพเพ โย สัจฉิกัตโถ ปะระมัตโถ ตะโต โส ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติ ฯ มิจฉา ฯ

พระยะมะกะ

เย เกจิ กุสะลา ธัมมา สัพเพ เต กุสะละมูลา ฯ เย วา ปะนะ กุสะละมูลา สัพเพ เต ธัมมา กุสะลา ฯ เย เกจิ กุสะลา ธัมมา สัพเพ เต กุสะละมูเลนะ เอกะมูลา ฯ เย วา ปะนะ กุสะละมูเลนะ เอกะมูลา สัพเพ เต ธัมมา กุสะลา ฯ

พระมะหาปัฏฐาน

เหตุปัจจะโย อารัมมะณะปัจจะโย อะธิปะติปัจจะโย อะนันตะระปัจจะโย สะมะนันตะระปัจจะโย สะหะชาตะปัจจะโย อัญญะมัญญะปัจจะโย นิสสะยะปัจจะโย อุปะนิสสะยะปัจจะโย ปุเรชาตะปัจจะโย ปัจฉาชาตะปัจจะโย อาเสวะนะปัจจะโย กัมมะปัจจะโย วิปากะปัจจะโย อาหาระปัจจะโย อินทริยะปัจจะโย ฌานะปัจจะโย มัคคะปัจจะโย สัมปะยุตตะปัจจะโย วิปปะยุตตะปัจจะโย อัตถิปัจจะโย นัตถิปัจจะโย วิคะตะปัจจะโย อะวิคะตะปัจจะโย ฯ

        อัคคัปปะสาทะสุตตะคาถา

 อัคคะโต  เว  ปะสันนานัง              อัคคัง  ธัมมัง  วิชานะตัง
  อัคเค  พุทเธ  ปะสันนานัง                       ทักขิเณยเย  อะนุตตะเร
 อัคเค  ธัมเม  ปะสันนานัง                        วิราคูปะสะเม  สุเข
 อัคเค  สังเฆ  ปะสันนานัง                        ปุญญักเขตเต  อะนุตตะเร
 อัคคัสมิง  ทานัง ทะทะตัง                       อัคคัง  ปุญญัง  ปะวัฑฒะติ
อัคคัง  อายุ  จะ วัณโณ  จะ                     ยะโส  กิตติ  สุขัง  พะลัง
 อัคคัสสะ  ทาตา เมธาวี                           อัคคะธัมมะสะมาหิโต
เทวะภูโต  มะนุสโส  วา                           อัคคัปปัตโต  ปะโมทะตีติ  ฯ

สีสุทเทสะปาฐะ
        ภาสิตะมิทัง  เตนะ  ภะตะวะตา  ชานะตา ปัสสะตา  อะระหะตา
สัมมาสัมพุทเธนะ  สัมปันนะสีลา  ภิกขะเว  วิหะระถะ  สัมปันนะปาฏิ-
โมกขา  ปาฏิโมกขะสังวะระสังวุตา  วิหะระถะ  อาจาระโคจะระสัมปันนา
อะณุมัตเตสุ  วัชเชสุ  ภะยะทัสสาวี  สะมาทายะ   สิกขะถะ  สิกขา-
ปะเทสูติ  ฯ ตัสมาติหัมเหหิ  สิกขิตัพพัง  สัมปันนะสีลา วิหะริสสามะ
สัมปันนะปาฏิโมกขา ปาฏิโมกขะสังวะระสังวุตา วิหะริสสามะ อาจา-
ระโคจะระสัมปันนา  อะณุมัตเตสุ วัชเชสุ  ภะยะทัสสาวี  สะมาทายะ
สิกขิสสามะ  สิกขาปะเทสูติ  ฯ  เอวัญหิ  โน สิกขิตัพพัง ฯ

                                         ตายะนะคาถา
        ฉินทะ  โสตัง  ปะรักกัมมะ                   กาเม  ปะนูทะ  พราหมะณะ
        นัปปะหายะ  มุนิ  กาเม                        เนกัตตะมูปะปัชชะติ
        กะยิรา เจ  กะยิราเถนัง                         ทัฬหะเมนัง  ปะรักกะเม
        สิถิโล  หิ ปะริพพาโช                            ภิยโย  อากิระเต  ระชัง
        อะกะตัง  ทุกกะฏัง เสยโย                     ปัจฉา ตัปปะติ  ทุกกะฏัง
        กะตัญจะ  สุกะตัง  เสยโย                      ยัง  กัตวา  นานุตัปปะติ
        กุโส ยะถา  ทุคคะหิโต                           หัตถะเมวานุกันตะติ
        สามัญญัง  ทุปปะรามัตถัง                     นิระยายูปะกัฑฒะติ
        ยังกิญจิ  สิถิลัง  กัมมัง                            สังกิลิฏฐัญจะ  ยัง  วะตัง
        สังกัสสะรัง  พรัมหะจะริยัง                      นะ ตัง โหติ  มะหัปผะลันติ ฯ

โมกขุปายะคาถา

สัพพะวัตถุตตะมัง  นัตตะวา        พุทธะธัมมะคะณัตตะยัง

เชคุจฉะกายะมัจจานัง               โมกขุปายัง  วะทามิหัง.

ปาฏิโมกขัง  ปูเรตัพพัง              อะโถ  อินทะริยะสังวะโร,

อาชีวัสสะ  อะโถ  สุทธิ             อะโถ  ปัจจะยะนิสสิตัง

จาตุปาริสุทธิสีลัง                    กาตัพพัง วะ สุนิมมะลัง.

การะณากะระเณเหวะ               ภิกขุนา  โมกขะเมสินา,

พุทธานุสสะติ เมตตา จะ          อะสุภัง  มะระณัสสะติ

อิจจิมา  จะตุรารักขา               กาตัพพา จะ วิปัสสะนา

วิสุทธะธัมมะสันตาโน              อะนุตตะรายะ  โพธิยา,

โยคะโต  จะ ปะโพธา จะ          พุทโธ  พุทโธติ  ญายะเต.

นะรานะระติรัจฉานะ                เภทา  สัตตา  สุเขสิโน.

สัพเพปิ สุขิโน โหนตุ              สุขิตัตตา  จะ เขมิโน

เกสะโลมาทิฉะวานัง               อะยะเมวะ  สะมุสสะโย,

กาโย  สัพโพปิ  เชคุจโฉ          วัณณาทิโต  ปะฏิกกุโล.

ชีวิตินทะริยุปัจเฉทะ                สังขาตะมะระณัง  สิยา,

สัพเพสังปีธะ  ปาณีนัง             ตัณหิ  ธุวัง นะ ชีวิตัง.

อะวิชชาทีหี  สัมภูตา              รูปัญจะ  เวทะนา  ตะถา,

อะโถ สัญญา จะ สังขารา        วิญญาณัญจาติ  ปัญจิเม.

อุปปัชชันติ  นิรุชฌันติ            เอวัง  หุตตะวา  อะภาวะโต,

เอเต  ธัมมา อะนิจจาถะ         ตาวะกาลิกะตาทิโต,

ปุนัปปุนัง  ปีฬีตัตตา              อุปปาเทนะ  วะเยนะ จะ,

เต ทุกขา  วะ  อะนิจจา เย      อะถะ  สันตัตตะตาทิโต.

วะเส  อะวัตตะนาเยวะ            อัตตะวิปักขะภาวะโต

สุญญัตตัสสามิกัตตา จะ         เต อะนัตตาติ  ญายะเร

เอวัง  สันเต จะ เต ธัมมา       นิพพินทิตัพพะภาวะโต,

ทัฑฒะเคหะสะมาเยวะ           อะลัง  โมกขัง คะเวสิตุง.

ปัญจักขันธะมิมัง  ทุกขัง        ตัณหา  สะมุทะโย  ภะเว,

ตัสสา นิโรโธ  นิพพานัง        มัคโค  อัฏฐังคิการิโย

เอตะกานังปิ  ปาฐานัง          อัตถังญัตตะวายะถาระหัง,

ปะฏิปัชเชถะ  เมธาวี            ปัตตุง สังขาระนิพพุตินติฯ

ขี้น/แรม ๑๑ ค่ำ

ธัมมะสังคิณีมาติกา

.........กุสะลา ธัมมา อะกุสะลา ธัมมา อัพยากะตา ธัมมา ฯ
..........สุ ขายะ เวทะนายะ สัมปะยุตตา ธัมมา ทุกขายะ เวทะนายะ
สัมปะยุตตา ธัมมา อะทุกขะมะสุ ขายะ เวทะนายะ สัมปะยุ ตตา
ธัมมา ฯ
..........วิปากา ธัมมา วิปากะธัมมะธั มมา เนวะวิปากะนะวิปากะ-
ธัมมะธัมมา ฯ
..........อุปาทินนุปาทานิยา ธัมมา อะนุปาทินนุ ปาทานิ ยา ธั มมา
อะนุปาทินนานุปาทานิยา ธัมมา ฯ
..........สังกิลิฏฐะสังกิเลสิกา ธัมมา อะสังกิลิฏฐะสั งกิเลสิกา ธัมมา
อะสังกิลิฏฐาสังกิเลสิกา ธัมมา ฯ
..........สะวิตั กกะสะวิจารา ธัมมา อะวิตักกะวิจาระมัตตา ธั มมา
อะวิตักกาวิจารา ธัมมา ฯ
..........ปีติ สะหะคะตา ธั มมา สุขะสะหะคะตา ธั มมา อุ เปกขา-
สะหะคะตา ธัมมา ฯ
......ทัสสะเนนะ ปะหาตั พพา ธั มมา ภาวะนายะ ปะหาตัพพา
ธัมมา เนวะทัสสะเนนะ นะภาวะนายะ ปะหาตัพพา ธัมมา ฯ
..........ทัสสะเนนะ ปะหาตั พพะเหตุกา ธัมมา ภาวะนายะ-
ปะหาตัพพะเหตุ กา ธัมมา เนวะทัสสะเนนะ นะภาวะนายะ-
ปะหาตัพพะเหตุกา ธัมมา ฯ
..........อาจะยะคามิโน ธัมมา อะปะจะยะคามิโน ธัมมา
เนวาจะยะคามิโน นาปะจะยะคามิโน ธัมมา ฯ
..........เสกขา ธัมมา อะเสกขา ธัมมา เนวะเสกขานาเสกขา ธัมมา ฯ
..........ปะริตตา ธัมมา มะหัคคะตา ธัมมา อัปปะมาณา ธัมมา ฯ
..........ปะริ ตตารัมมะณา ธัมมา มะหั คคะตารัมมะณา ธัมมา
อัปปะมาณารัมมะณา ธัมมา ฯ
..........หีนา ธัมมา มัชฌิมา ธัมมา ปะณีตา ธัมมา ฯ
..........มิจฉัตตะนิยะตา ธัมมา สัมมัตตะนิยะตา ธัมมา อะนิยะตา
ธัมมา ฯ
..........มัคคารั มมะณา ธัมมา มัคคะเหตุกา ธัมมา มัคคาธิปะติ โน
ธัมมา ฯ
..........อุปปันนา ธัมมา อะนุปปันนา ธัมมา อุปปาทิโน ธัมมา ฯ
..........อะตีตา ธัมมา อะนาคะตา ธัมมา ปัจจุปปันนา ธัมมา ฯ
..........อะตี ตารัมมะณา ธัมมา อะนาคะตา รั มมะณา ธัมมา
ปัจจุปปันนารัมมะณา ธัมมา ฯ
..........อัชฌัตตา ธัมมา พะหิทธา ธัมมา อัชฌัตตะพะหิทธา ธัมมา ฯ
..........อัชฌัตตารั มมะณา ธั มมา พะหิทธารัมมะณา ธัมมา
อัชฌัตตะพะหิทธารัมมะณา ธัมมา ฯ
..........สะนิทัสสะนะสัปปะฏิฆา ธัมมา อะนิทั สสะนะสัปปะฏิฆา
ธัมมา อะนิทัสสะนาปปะฏิฆา ธัมมา ฯ

วิปัสสนาภูมิปาฐะ

ปัญจักขันธา, รูปักขันโธ, เวทะนากขันโธ, สังญากขันโธ, สังขารักขันโธ, วิญญาณักขันโธ, ทฺวาทะสายะตะนานิ ฯ. จักขฺวายะตะนัง รูปายะตะนัง, โสตายะตะนัง สัททายะตะนัง, ฆานายะตะนัง คันธายะตะนัง, ขิวหายะตะนัง ระสายะตะนัง, กายายะตะนัง โผฏฐัพพายะตะนัง. มะนายะตะนัง ธัมมายะตะนัง ฯ

อัฏฐาระสะ ธาตุโย ฯ จักขุธาตุ รูปะธาตุ จักชุวิญญาณะธาตุ, โสตะธาตุ สัททะธาตุ โสตะวิญญาณธาตุ, ฆานะธาตุ คันธะธาตุ ฆานะวิญญาณะธาตุ, ชิวหาธาตุ ระสะธาตุ ชิวหาวิญญาณะธาตุ, กายะธาตุ โผฏฐัพพะธาตุ กายะวิญญาณะธาตุ, มะโนธาตุ ธัมมะธาตุ มะโนวิญญาณะธาตุ ฯ

พาวีสะตินทฺริยานิ ฯ จักขุนทฺริยัง โสตินทฺริยัง ฆานินทฺริยัง ชิวหินทฺริยัง กายินทฺริยัง มะนินทฺริยัง, อิตถินทฺริยัง ปุริสินทฺริยัง ชีวิตินทฺริยัง, สุขินทฺริยัง ทุกขินทฺริยัง โสมนัสสินทฺริยัง โทมะนัสสินทฺริยัง อุเปกขินทฺริยัง, สัทธินทฺริยัง วิริยินทฺริยัง สะตินทฺริยัง สะมาธินทฺริยัง ปัญญินทฺริยัง, อะนัญญะตัญญัสสามีตินทฺริยัง อิญญินทฺริยัง อัญญาตาวินทฺริยัง ฯ

จัตตาริ อะริยะสัจจานิ ฯ ทุกขัง อะริยะสัจจัง, ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง, ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง, ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ฯ

อะวิชชาปัจจะยา สังขารา, สังขาระปัจจะยา วิญญาณัง, วิญญาณะปัจจะยา นามะรูปัง, นามะรูปะปัจจะยา สะฬายะตะนัง, สะฬายะตะนะปัจจะยา ผัสโส, ผัสสะปัจจะยา เวทะนา, เวทะนาปัจจะยา ตัณหา, ตัณหาปัจจะยา อุปาทานัง, อุปาทานะปัจจะยา ภะโว, ภะวะปัจจะยา ชาติ, ชาติปัจจะยา ชะรามะระณัง โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสา สัมภะวันติ ฯ เอวะเมตัสสะเกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ, สะมุทะโย โหติ ฯ

อะวิชชายะเตฺววะ อะเสสะวิราคะนิโรธา สังขาระนิโรโธ, สังขาระนิโรธา วิญญาณะนิโนโธ, วิญญาณะนิโนธา นามะรูปะนิโรโธ, นามะรูปะนิโรธา สะฬายะตะนะนิโรโธ, สะฬายะตะนะนิโรธา ผัสสะนิโรโธ, ผัสสะนิโรธา เวทะนานิโรโธ, เวทะนานิโรธา ตัณหานิโรโธ, ตัณหานิโรธา อุปาทานะนิโรโธ, อุปาทานะนิโรธา ภะวะนิโรโธ, ภะวะนิโรธา ชาตินิโรโธ, ชาตินิโรธา ชะรามะระณัง โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสา นิรุชฌันติ ฯ เอวะเมตัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ, นิโรโธ โหติ ฯ

ปัฏฐานมาติกาปาฐะ

เหตุปัจจะโย อารัมมะณะปัจจะโย อะธิปะติปัจจะโย อะนันตะระปัจจะโย สะมะนันตะระปัจจะโย สะหะชาตะปัจจะโย อัญญะมัญญะปัจจะโย นิสสะยะปัจจะโย อุปะนิสสะยะปัจจะโย ปุเรชาตะปัจจะโย ปัจฉาชาตะปัจจะโย อาเสวะนะปัจจะโย กัมมะปัจจะโย วิปากะปัจจะโย อาหาระปัจจะโย อินทริยะปัจจะโย ฌานะปัจจะโย มัคคะปัจจะโย สัมปะยุตตะปัจจะโย วิปปะยุตตะปัจจะโย อัตถิปัจจะโย นัตถิปัจจะโย วิคะตะปัจจะโย อะวิคะตะปัจจะโย ฯ

พุทธะชะยะมังคะละคาถา

พาหุงสะหัส สะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
ครีเมขะลัง อุทิตะโฆ ระสะเสนะมารัง
ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

มาราติเร กะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

กัตตะวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะยะกายะมัชเฌ
สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกาวาทะเกตุง
วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต
อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฉฐะคาถา โย
วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ
โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ

ขึ้น/แรม ๑๐ ค่ำ

อภิณหปัจจเวกขณปาฐะ

อัตถิ โข เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปัสสะตา อะระหะตา สัมมาสัมพุทเธนะ, ปัญจะ ฐานานิ สัมมะทักขาตานิ, ยานิ อะภิณหัง ปัจจะเวกขิตัพพานิ, อิตถิยา วา ปุริเสนะ วา คะหัฎเฐนะ วา ปัพพะชิเตนะ วา, กะตะมานิ ปัญจะ,

ชะราธัมโมมหิ ชะรัง อะนะตีโตติ, อะภิณหัง ปัจจะเวกขิตัพพัง, อิตถิยา วา ปุริเสนะ วา คะหัฎเฐนะ วา ปัพพะชิเตนะ วา,
พ๎ยาธิธัมโมมหิ พ๎ยาธิง อะนะตีโตติ, อะภิณหัง ปัจจะเวกขิตัพพัง, อิตถิยา วา ปุริเสนะ วา คะหัฎเฐนะ วา ปัพพะชิเตนะ วา,
มะระณะธัมโมมหิ มะระณัง อะนะตีโตติ, อะภิณหัง ปัจจะเวกขิตัพพัง, อิตถิยา วา ปุริเสนะ วา คะหัฎเฐนะ วา ปัพพะชิเตนะ วา,
สัพเพหิ เม ปิเยหิ มะนาเปหิ นานาภาโว วินาภาโวติ, อะภิณหัง ปัจจะเวกขิตัพพัง, อิตถิยา วา ปุริเสนะ วา คะหัฎเฐนะ วา ปัพพะชิเตนะ วา,
กัมมัสสะโกมหิ กัมมะทายาโท กัมมะโยนิ กัมมะพันธุ กัมมะปะฏิสะระโณ, ยัง กัมมัง กะริสสามิ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาโท ภะวิสสามีติ, อะภิณหัง ปัจจะเวกขิตัพพัง, อิตถิยา วา ปุริเสนะ วา คะหัฎเฐนะ วา ปัพพะชิเตนะ วา,

อิมานิ โข เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปัสสะตา อะระหะตา สัมมาสัมพุทเธนะ, ปัญจะ ฐานานิ สัมมะทักขาตานิ, ยานิ อะภิณหัง ปัจจะเวกขิตัพพานิ, อิตถิยา วา ปุริเสนะ วา คะหัฎเฐนะ วา ปัพพะชิเตนะ วา,

ตัสสมาติหัมเหหิ เอวัง อะภิณหัง ปัจจะเวกขิตัพพัง, ชะราธัมโมมหิ ชะรัง อะนะตีโต, พ๎ยาธิธัมโมมหิ พ๎ยาธิง อะนะตีโต, มะระณะธัมโมมหิ มะระณัง อะนะตีโต, สัพเพหิ เม ปิเยหิ มะนาเปหิ นานาภาโว วินาภาโว, กัมมัสสะโกมหิ กัมมะทายาโท กัมมะโยนิ กัมมะพันธุ กัมมะปะฏิสะระโณ, ยัง กัมมัง กะริสสามิ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาโท ภะวิสสามีติ, ตะโต อุตตะริงปิ ปัจจะเวกขิตัพพัง,

 นะ โข ปะนาหะเมวะ, ชะราธัมโมมหิ ชะรัง อะนะตีโต, ตัง กุเตตถะ ลัพพา,
 นะ โข ปะนาหะเมวะ, พ๎ยาธิธัมโมมหิ พ๎ยาธิง อะนะตีโต, ตัง กุเตตถะ ลัพพา,
นะ โข ปะนาหะเมวะ, มะระณะธัมโมมหิ มะระณัง อะนะตีโต, ตัง กุเตตถะ ลัพพา,
นะ โข ปะนาหะเมวะ, สัพเพหิ เม ปิเยหิ มะนาเปหิ นานาภาโว วินาภาโว, ตัง กุเตตถะ ลัพพา,
นะ โข ปะนาหะเมวะ, กัมมัสสะโกมหิ กัมมะทายาโท กัมมะโยนิ กัมมะพันธุ กัมมะปะฏิสะระโณ, ยัง กัมมัง กะริสสามิ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาโท ภะวิสสันติ, ตัง กุเตตถะ ลัพพาติ

สาราณียธรรมสูตร

เอวัม เม สุตัง,                              
เอกัง สะมะยัง ภะคะวา,  
สาวัตถิยัง วิหะระติ,  
เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ ,อาราเม.
ตัตฺระ โข ภะคะวา ภิกขู    
อามันเตสิ ภิกขะโวติ.
ภะทันเตติ เต ภิกขู                              
ภะคะวะโต ปัจจัสโสสุง,          
ภะคะวา เอตะทะโวจะ,    
ฉะยิเม ภิกขะเว ธัมมา สาราณียา
ปิยะกะระณา คะรุกะระณา,
สังคะหายะ อะวิวาทายะ สามัคคิยา
เอกีภาวายะ สังวัตตันติ,      
กะตะเม ฉะ?                        
1 อิธะ ภิกขะเว ภิกขุโน,  
เมตตัง กายะกัมมัง ปัจจุปัฏฐิตัง โหติ,
สะพฺรัมหฺมะจารีสุ  อาวิ เจวะ ระโห จะ,  
อะยัมปิ ธัมโม สาราณีโย ปิยะกะระโณ  
คะรุกะระโณ          
เอกีภาวายะ สังวัตตะติ.      
2 ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุโน,
เมตตัง วะจีกัมมัง ปัจจุปัฏฐิตัง โหติ,
สะพฺรัหฺมะจารีสุ อาวิ เจวะ ระโห จะ,
อะยัมปิ ธัมโม สาราณีโย ปิยะกะระโณ  
คะรุกะระโณ          
สังคะหายะ อะวิวาทายะ สมามัคคิยา            
เอกีภาวายะ สังวัตตะติ.    
3  ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุโน,  
เมตตัง มะโนกัมมัง ปัจจุปัฏฐิตัง โหติ,
สะพฺรัหฺมะจารีสุ อาวิ เจวะ ระโห จะ,
อะยัมปิ ธัมโม สาราณีโย ปิยะกะระโณ
คะรุกะระโณ          
สังคะหายะ อะวิวาทายะ สมามัคคิยา        
เอกีภาวายะ สังวัตตะติ.  
4 ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุโน,
เย เต ลาภา ธัมมิกา ธัมมะลัทธา,
อันตะมะโส ปัตตะปะริยาปันนานะมัตตัมปิ,
ตะถารูเปหิ ลาเภหิ อัปปะฏิวิภัตตะโภคี โหติ,
สีละวันเตหิ สะพฺรัหฺมะจารีหิ
สาธาระณะโภคี,
สะพฺรัหฺมะจารีสุ อาวิ เจวะ ระโห จะ,
อะยัมปิ ธัมโม สาราณีโย ปิยะกะระโณ            
คะรุกะระโณ    
สังคะหายะ อะวิวาทายะ สมามัคคิยา          
เอกีภาวายะ สังวัตตะติ.      
5 ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุโน,
ยานิ ตานิ สีลานิ อะขัณฑานิ อะฉิททนิ      
อะสะพะลานิ อะกัมมาสานิ,      
ภุชิสสานิ วิญญูปะสัตถานิ
อะปะรามัฏฐานิ สะมาธิสังวัตตะนิกานิ,
ตะถารูเปสุ สีเลสุ สีละสามัญญะคะโต
วิหะระติ,                        
สะพฺรัหฺมะจารีสุ อาวิ เจวะ ระโห จะ,
อะยัมปิ ธัมโม สาราณีโย ปิยะกะระโณ  
คะรุกะระโณ        
สังคะหายะ อะวิวาทายะ สมามัคคิยา        
เอกีภาวายะ สังวัตตะติ.        
6 ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุโน,
ยายัง อะริยา นิยยานิกามมีทิฏฐิ
นิยาติ ตักกะรัสสะ สัมมาทุกขักขะยายะ,
ตถารูปายะ ทิฏฐิยา ทิฏฐิสามัญญะคะโต  
วิหะระติ,                              
สะพฺรัหฺมะจารีสุ อาวิ เจวะ ระโห จะ,
อะยัมปิ ธัมโม สาราณีโย ปิยะกะระโณ
คะรุกะระโณ            
สังคะหายะ อะวิวาทายะ สมามัคคิยา        
เอกีภาวายะ สังวัตตะติ.        
อิเม โข ภิกขะเว ฉะ ธัมมา สาราณียา
ปิยะกะระณา คะรุกะระณา,      
สังคะหายะ อะวิวาทายะ สามัคคิยา
เอกีภาวายะ สังวัตตันตีติ.          
อิทะมะโวจะ ภะคะวา,            
อัตตะมานา เต ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง,        
อภินันทุนติ .                

ปะหานะภาวนาสุตตัง

เอวัม เม สุตัง,                              
เอกัง สะมะยัง ภะคะวา,  
สาวัตถิยัง วิหะระติ,  
เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ ,อาราเม.
ตัตฺระ โข ภะคะวา ภิกขู    
อามันเตสิ ภิกขะโวติ.
ภะทันเตติ เต ภิกขู                              
ภะคะวะโต ปัจจัสโสสุง,          
ภะคะวา เอตะทะโวจะ,
อะกุสะลัง ภิกขะเว ปะชะหะถะ, สักกา ภิกขะเว อะกุสะลัง ปะชะหิตุง, โน เจตัง ภิกขะเว สักกา อะภะวิสะ อะกุสะลัง ปะชะหิตุง, นาหัง เอวัง วะเทยยัง, อะกุสะลัง ภิกขะเว ปะชะหะถาติ, ยัสสะมา จะ โข ภิกขะเว สักกา อะกุสะลัง ปะชะหิตุง, ตัสสะมาหัง เอวัง วะทามิ, อะกุสะลัง ภิกขะเว ปะชะหิตุง, ตัสสะมาหัง เอวัง วะทามิ, อะกุสะลัง ภิกขะเว ปะชะหะถาติ, อะกุสะลัญจะหิทัง ภืกขะเว ปะหีนัง, อะหิตายะ ทุกขายะ สังวัตเตยยะ, นาหัง เอวัง วะเทยยัง, อะกุสะลัง ภิกขะเว ปะชะหะถาติ, ยัสมา จะ โข ภิกขะเว อะกุสะลัง ปะหีนัง, หิตายะ สุขายะ สังวัตตะติ, ตัสสะมาหัง เอวัง วะทามิ, อะกุสะลัง ภิกขะเว ปะชะหะถาติ,

  กุสะลัง ภิกขะเว ภาเวถะ, สักกา ภิกขะเว กุสะลัง ภาเวตุง, โน เจตัง ภิกขะเว สักกา อะภะวิสะ กุสะลัง ภาเวตุง, นาหัง เอวัง วะเทยยัง, กุสะลัง ภิกขะเว ภาเวถาติ, ยัสสะมา จะ โข ภิกขะเว สักกา กุสะลัง ภาเวตุง, ตัสสะมาหัง เอวัง วะทามิ, กุสะลัง ภิกขะเว ภาเวถาติ, กุสะลัญจะหิทัง ภืกขะเว ภาวิตัง, อะหิตายะ ทุกขายะ สังวัตเตยยะ, นาหัง เอวัง วะเทยยัง, กุสะลัง ภิกขะเว ภาเวถาติ, ยัสสะมา จะ โข ภิกขะเว กุสะลัง ภาวิตัง, หิตายะ สุขายะ สังวัตตะติ, ตัสสะมาหัง เอวัง วะทามิ, กุสะลัง ภิกขะเว ภาเวถาติ,
อิทะมะโวจะ ภะคะวา, อัตตะมะนา เต ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง, อะภินันทุนติ.

วันพฤหัสบดีที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2559

ขึ้น/แรม ๙ ค่ำ

สะติปัฏฐานะปาโฐ

..........อัตถิ โข เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปัสสะตา อะระหะตา
สัมมาสั มพุทเธนะ เอกายะโน อะยัง มัคโค สั มมะทักขาโต
สั ตตานั ง วิ สุทธิ ยา โสกะปะริเทวานั ง. สะมะติ กกะมายะ
ทุ กขะโทมะนั สสานัง อั ตถังคะมายะ ญายัสสะ อะธิคะมายะ
นิ พพานั สสะ สัจฉิ กิริยายะ ยะทิทัง จัตตาโร สะติ ปั ฏฐานา,
กะตะเม จัตตาโร.
..........อิธะ ภิกขุ กาเย กายานุปั สสี วิหะระติ อาตาปี สัมปะชาโน
สะติ มา วิ เนยยะ โลเก อะภิ ชฌาโทมะนัสสัง. เวทะนาสุ
เวทะนานุปัสสี วิหะระติ อาตาปี สัมปะชาโน สะติมา วิเนยยะ
โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง. จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ อาตาปี
สัมปะชาโน สะติมา วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง. ธัมเมสุ
ธัมมานุปัสสี วิหะระติ อาตาปี สัมปะชาโน สะติมา วิ เนยยะ
โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง.
..........กะถัญจะ ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. อิธะ ภิกขุ อัชฌัตตัง
วา กาเย กายานุปัสสี วิ หะระติ พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี
วิ หะระติ. อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ
สะมุทะยะธัมมานุ ปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ วะยะธั มมานุปัสสี
วา กายัส๎มิง วิหะระติ สะมุทะยะวะยะธัมมานุ ปัสสี วา กายัส๎มิง
วิ หะระติ อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุ ปั ฏฐิตา โหติ
ยาวะเทวะญาณะมัตตายะ ปะฏิสสะติมัตตายะ อะนิสสิโต
จะ วิ หะระติ นะจะ กิญจิ โลเก อุ ปาทิ ยะติ. เอวัง โข ภิ กขุ
กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ.
..........กะถัญจะ ภิ กขุ เวทะนาสุ เวทะนานุปัสสี วิ หะระติ . อิ ธะ
ภิกขุ อัชฌัตตัง วา เวทะนาสุ เวทะนานุปัสสี วิหะระติ พะหิทธา วา
เวทะนาสุ เวทะนานุปัสสี วิ หะระติ. อัชฌั ตตะพะหิ ทธา วา
เวทะนาสุ เวทะนานุปั สสี วิหะระติ สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา
เวทะนาสุ วิหะระติ วะยะธัมมานุปัสสี วา เวทะนาสุ วิหะระติ
สะมุทะยะวะยะธัมมานุ ปัสสี วา เวทะนาสุ วิหะระติ อัตถิ
เวทะนาติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิ ตา โหติ ยาวะเทวะ-
ญาณะมัตตายะ ปะฏิสสะติมัตตายะ อะนิ สสิโต จะ วิหะระติ
นะ จะ กิ ญจิ โลเก อุ ปาทิยะติ. เอวัง โข ภิกขุ เวทะนาสุ -
เวทะนานุปัสสี วิหะระติ.
..........กะถัญจะ ภิกขุ จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ. อิธะ ภิกขุ อัชฌัตตัง
วา จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ พะหิทธา วา จิตเต จิตตานุปัสสี
วิหะระติ . อัชฌั ตตะพะหิ ทธา วา จิ ตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ
สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา จิตตัส๎มิง วิหะระติ วะยะธัมมานุปัสสี
วา จิตตัส๎มิง วิหะระติ สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา จิตตัส๎มิง
วิหะระติ อัตถิ จิตตันติ วา ปะนั สสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ
ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะฏิสสะติมัตตายะ อะนิสสิโต จะ
วิหะระติ นะจะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. เอวัง โข ภิกขุ จิตเต
จิตตานุปัสสี วิหะระติ.
..........กะถั ญจะ ภิกขุ ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี วิหะระติ. อิ ธะ ภิ กขุ
อัชฌัตตัง วา ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี วิหะระติ พะหิทธา วา ธัมเมสุ
ธัมมานุปัสสี วิหะระติ. อัชฌัตตะพะหิทธา วา ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี
วิ หะระติ . สะมุ ทะยะธัมมานุ ปัสสี วา ธัมเมสุ วิ หะระติ
วะยะธั มมานุปั สสี วา ธัมเมสุ วิหะระติ สะมุ ทะยะวะยะ-
ธัมมานุปัสสี วา ธัมเมสุ วิหะระติ อัตถิ ธัมมาติ วา ปะนัสสะ
สะติ ปั จจุ ปัฏฐิตา โหติ ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ
ปะฏิสสะติมั ตตายะ อะนิสสิโต จะ วิหะระติ นะ จะ กิญจิ โลเก
อุปาทิยะติ. เอวัง โข ภิกขุ ธั มเมสุ ธัมมานุปัสสี วิหะระติ.
..........อะยั ง โข เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปัสสะตา อะระหะตา
สัมมาสัมพุทเธนะ เอกายะโน มัคโค สัมมะทักขาโต สั ตตานัง
วิ สุทธิ ยา โสกะปะริเทวานั ง สะมะติ กกะมายะ ทุ กขะ-
โทมะนัสสานัง อัตถังคะมายะ ญายัสสะ อะธิคะมายะ
นิพพานัสสะ สัจฉิกิริยายะ ยะทิทัง จัตตาโร สะติปัฏฐานาติ.
    เอกายะนัง ชาติขะยันตะทัสสี, มัคคัง ปะชานาติ หิตานุกัมปี, เอเตนะ มัคเคนะ ตะริงสุ ปุพเพ, ตะริสสะเร เจวะ ตะรันติ โจฆันติ.

ขึ้น/แรม ๘ ค่ำ

ธัมมนิยามสูตร
       เอวัมเม  สุตังฯ   เอกัง  สะมะยัง  ภะคะวา  สาวัตถิยัง  วิหะระติ  เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ  อาราเม ฯ  ตัต๎ระ โข  ภะคะวา  ภิกขู  อามันเตสิ  ภิกขะโวติฯ ภะทันเตติ  เต  ภิกขู  ภะคะวะโต  ปัจจัสโสสุงฯ  ภะคะวา  เอตะทะโวจะ

        อุปปาทา วา ภิกขะเว ตะถาคะตานัง อะนุปปาทา วา ตะถาคะตานัง ฐิตา วะ สา ธาตุ ธัมมัฏฐิตะตา ธัมมะนิยามะตา สัพเพ สังขารา อะนิจจาติ ฯ ตัง ตะถาคะโต อะภิสัมพุชฌะติ อะภิสะเมติ อะภิสัมพุชฌิต๎วา อะภิสะเมต๎วา อาจิกขะติ เทเสติ ปัญญะเปติ ปัฏฐะเปติ วิวะระติ วิภะชะติ อุตตานีกะโรติ สัพเพ สังขารา อะนิจจาติฯ

        อุปปาทา วา ภิกขะเว ตะถาคะตานัง อะนุปปาทา วา ตะถาคะตานัง ฐิตา วะ สา ธาตุ ธัมมัฏฐิตะตา ธัมมะนิยามะตา สัพเพ สังขารา ทุกขาติ ฯ ตัง ตะถาคะโต อะภิสัมพุชฌะติ อะภิสะเมติ อะภิสัมพุชฌิต๎วา อะภิสะเมต๎วา อาจิกขะติ เทเสติ ปัญญะเปติ ปัฏฐะเปติ วิวะระติ วิภะชะติ อุตตานีกะโรติ สัพเพ สังขารา ทุกขาติฯ

        อุปปาทา วา ภิกขะเว ตะถาคะตานัง อะนุปปาทา วา ตะถาคะตานัง ฐิตา วะ สา ธาตุ ธัมมัฏฐิตะตา ธัมมะนิยามะตา สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ ฯ ตัง ตะถาคะโต อะภิสัมพุชฌะติ อะภิสะเมติ อะภิสัมพุชฌิต๎วา อะภิสะเมต๎วา อาจิกขะติ เทเสติ ปัญญะเปติ ปัฏฐะเปติ วิวะระติ วิภะชะติ อุตตานีกะโรติ สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติฯ

        อิทะมะโวจะ ภะคะวา ฯ อัตตะมะนา เต ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุนติ ฯ

ภัทเทกรัตตคาถา

อะตีตัง นาน๎วาคะเมยยะ
นัปปะฏิกังเข อะนาคะตัง
ยะทะตีตัมปะหีนันตัง
อัปปัตตัญจะ อะนาคะตัง
ปัจจุปปันนัญจะ โย ธัมมัง
ตัตถะ ตัตถะ วิปัสสะติ,
อะสังหิรัง อะสังกุปปัง
ตัง วิทธา มะนุพ๎รูหะเย
อัชเชวะ กิจจะมาตัปปัง
โก ชัญญา มะระณัง สุเว
นะ หิ โน สังคะรันเตนะ
มะหาเสเนนะ มัจจุนา
เอวัง วิหาริมาตาปิง
อะโหรัตตะมะตันทิตัง,
ตัง เว ภัทเทกะรัตโตติ
สันโต อาจิกขะเต มุนิติฯ

ติลักขะณาทิคาถา

        สัพเพ  สังขารา  อะนิจจาติ              
ยะทา  ปัญญายะ  ปัสสะติ
        อะถะ  นิพพินทะติ  ทุกเข              
 เอสะ  มัคโค  วิสุทธิยา
        สัพเพ  สังขารา  ทุกขาติ                  
 ยะทา  ปัญญายะ  ปัสสะติ
        อะถะ  นิพพินทะติ  ทุกเข                
 เอสะ  มัคโค  วิสุทธิยา
        สัพเพ  ธัมมา  อะนัตตาติ                  
ยะทา  ปัญญายะ  ปัสสะติ
        อะถะ  นิพพินทะติ  ทุกเข                
เอสะ  มัคโค  วิสุทธิยา
        อัปปะกา  เต  มะนุสเสสุ                    
เย  ชะนา  ปาระคามิโน      
        อะถายัง  อิตะรา  ปะชา                  
  ตีระเมวานุธาวะติ
        เย  จะ โข  สัมมะทักขาเต                
  ธัมเม  ธัมมานุวัตติโน
        เต  ชะนา  ปาระเมสสันติ                  
 มัจจุเธยยัง  สุทุตตะรัง
        กัณหัง  ธัมมัง  วิปปะหายะ              
 สุกกัง  ภาเวถะ  ปัณฑิโต
        โอกา  อะโนกะมาคัมมะ                    
  วิเวเก  ยัตถะ  ทูระมัง
        ตัตราภิระติมิจเฉยยะ                        
 หิตวา  กาเม   อะกิญจะโน
        ปะริโยทะเปยยะ  อัตตานัง                
 จิตตักเลเสหิ  ปัณฑิโต
        เยสัง  สัมโพธิยังเคสุ                             สัมมา  จิตตัง สุภาวิตัง
        อาทานะปะฏินิสสัคเค                        
  อะนุปาทายะ  เย ระตา
        ขีณาสะวา ชุติมันโต                            
  เต  โลเก  ปะรินิพพุตาติ ฯ

ขึ้น/แรม ๗ ค่ำ

อาทิตตปริยายสูตร
      เอวัมเม สุตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา คะยายัง วิหะระติคะยาสีเส สัทธิง ภิกขุสะหัสเสนะฯ
      ตัตระโข ภะคะวา ภิกขูอามันเตสิฯ
      สัพพัง ภิกขะเว อาทิตตัง ฯ กิญจะ ภิกขะเว สัพพัง อาทิตตัง ฯ จักขุง ภิกขะเว อาทิตตัง รูปา อาทิตตา จักขุวิญญาณัง อาทิตตัง จักขุสัมผัสโส อาทิตโต ยัมปิทัง จักขุสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติเวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัมปิอาทิตตัง เกนะ อาทิตตัง ฯ อาทิตตัง ราคัคคินา โทสัคคินา โมหัคคินา อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ โสเกหิปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ ฯ
      โสตัง อาทิตตัง สัททา อาทิตตา โสตะวิญญาณัง อาทิตตัง โสตะสัมผัสโส อาทิตโต ยัมปิทัง โสตะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติเวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัมปิ อาทิตตัง ฯ เกนะ อาทิตตัง ฯ อาทิตตัง ราคัคคินา โทสัคคินา โมหัคคินา อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ ฯ
      ฆานัง อาทิตตัง คันธา อาทิตตา ฆานะวิญญาณัง อาทิตตัง ฆานะสัมผัสโส อาทิตโต ยัมปิทัง ฆานะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติเวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วาอะทุกขะมะสุขัง วาตัมปิ อาทิตตัง ฯ เกนะ อาทิตตัง ฯ อาทิตตัง ราคัคคินา โทสัคคินา โมหัคคินา อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ โสเกหิปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ ฯ
      ชิวหา อาทิตตา ระสา อาทิตตา ชิวหาวิญญาณัง อาทิตตัง ชิวหาสัมผัสโส อาทิตโต ยัมปิทัง ชิวหาสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติเวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วาอะทุกขะมะสุขัง วาตัมปิ อาทิตตัง ฯ เกนะ อาทิตตัง ฯ อาทิตตัง ราคัคคินา โทสัคคินา โมหัคคินา อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ โสเกหิปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ ฯ
     กาโย อาทิตโต โผฏฐัพพา อาทิตตา กายะวิญญานัง อาทิตตัง กายะสัมผัสโส อาทิตโต ยัมปิทัง กายะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติเวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วาอะทุกขะมะสุขัง วาตัมปิ อาทิตตัง ฯ เกนะ อาทิตตัง ฯ อาทิตตัง ราคัคคินา โทสัคคินา โมหัคคินา อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ โสเกหิปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ ฯ
      มะโน อาทิตโต ธัมมา อาทิตตา มะโนวิญญาณัง อาทิตตัง มะโนสัมผัสโส อาทิตโต ยัมปิทัง มะโนสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติเวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วาอะทุกขะมะสุขัง วาตัมปิ อาทิตตัง ฯ เกนะ อาทิตตัง ฯ อาทิตตัง ราคัคคินา โทสัคคินา โมหัคคินา อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ โสเกหิปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ
     เอวัง ปัสสัง ภิกขะเว สุตวา อะริยะสาวะโก
     จักขุส๎มิงปิ นิพพินทะติ รูเปสุปิ นิพพินทะติ จักขุวิญญาเณปิ นิพพินทะติ จักขุสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ ยัมปิทังจักขุสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วาตัส๎มิงปิ นิพพินทะติ ฯ
     โสตัส๎มิงปิ นิพพินทะติ สัทเทสุปิ นิพพินทะติ โสตะวิญญาเณปิ นิพพินทะติ โสตะสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ
ยัมปิทัง โสตะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติเวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขังวาอะทุกขะมะสุขัง วา ตัส๎มิงปิ นิพพินทะติ ฯ
      ฆานัส๎มิงปิ นิพพินทะติ คันเธสุปิ นิพพินทะติ ฆานะ วิญญาเณปิ นิพพินทะติ ฆานะสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ
ยัมปิทัง ฆานะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติเวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัส๎มิงปิ นิพพินทะติ ฯ
      ชิวหายะปิ นิพพินทะติ ระเสสุปิ นิพพินทะติ ชิวหาวิญญาเณปิ นิพพินทะติ ชิวหาสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ
ยัมปิทัง ชิวหาสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัส๎มิงปิ นิพพินทะติ ฯ
      กายัส๎มิงปิ นิพพินทะติ โผฏฐัพเพสุปิ นิพพินทะติ กายะวิญญาเณปิ นิพพินทะติ กายะสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ
ยัมปิทัง กายะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติเวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัส๎มิงปิ นิพพินทะติ ฯ
      มะนัส๎มิงปิ นิพพินทะติ ธัมเมสุปิ นิพพินทะติ มะโนวิญญาเณปิ นิพพินทะติ มะโนสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ ยัมปิทัง มะโนสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติเวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัส๎มิงปิ นิพพินทะติ ฯ
      นิพพินทัง วิรัชชะติฯ วิราคา วิมุจจะติฯ วิมุตตัส๎มิง วิมุตตะมีติญาณัง โหติขีณา ชาติวุสิตัง พรัหมะจะริยัง กะตัง กะระณียัง นาปะรัง อิตถัตตายาติ ปะชานาตีติ ฯ
      อิทะมะโวจะ ภะคะวา ฯ อัตตะมะนา เต ภิกขูภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุง ฯ
      อิมัส๎มิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัส๎มิง ภัญญะมาเน ตัสสะ ภิกขุสะหัสสัสสะ อะนุปาทายะ อาสะเวหิ จิตตานิ วิมุจจิงสูติ

ขึ้น/แรม ๖ ค่ำ

อนัตตลักขณสูตร
( นำ) หันทะ มะยัง อะนัตตะลักขะณะสุตตัง กะโรมะ เส ฯ
(รับ) เอวัมเม สุตัง เอกัง สะมะยัง ภะคะวา พาราณะสิยัง วิหะระติ อิสิปะตะเน มิคะทะเยฯ
ตัต๎ระ โข ภะคะวา ปัญจะวัคคิเย ภิกขู อามันเตสิ ฯ
รูปัง ภิกขะเว อะนัตตา ฯ รูปัญจะหิทัง ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ นะยิทัง รูปัง อาพาธายะ
สังวัตเตยยะ ลัพเภถะ จะ รูเป เอวัง เม รูปัง โหตุ เอวัง เม รูปัง มา อะโหสีติฯ
ยัส๎มา จะ โข ภิกขะเว รูปัง อะนัตตา ตัส๎มา รูปัง อาพาธายะ สังวัตตะติ นะ จะ ลัพภะติ
รูเป เอวัง เม รูปัง โหตุ เอวัง เม รูปัง มา อะโหสีติฯ
เวทะนา อะนัตตา ฯ เวทะนา จะ หิทัง ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ นะยิทัง เวทะนา อาพาธายะ
สังวัตเตยยะ, ลัพเภถะ จะ เวทะนายะ เอวัง เม เวทะนา โหตุ เอวัง เม เวทะนา มา อะโหสีติ ฯ
ยัส๎มา จะ โข ภิกขะเว เวทะนา อะนัตตา ตัส๎มา เวทะนา อาพาธายะ สังวัตตะติ นะ จะ ลัพภะติ
เวทะนายะ เอวัง เม เวทะนา โหตุ เอวัง เม เวทะนา มา อะโหสีติฯ
สัญญา อะนัตตาฯ สัญญา จะ หิทัง ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ นะยิทัง สัญญา อาพาธายะ
สังวัตเตยยะ ลัพเภถะ จะ สัญญายะ เอวัง เม สัญญา โหตุ เอวัง เม สัญญา มา อะโหสีติ ฯ
ยัส๎มา จะ โข ภิกขะเว สัญญา อะนัตตา ตัส๎มา สัญญา อาพาธายะ สังวัตตะติ นะ จะ
ลัพภะติ สัญญายะ เอวัง เม สัญญา โหตุ เอวัง เม สัญญา มา อะโหสีติ ฯ
สังขารา อะนัตตาฯ สังขารา จะ หิทัง ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสังสุ นะยิทัง สังขารา อาพาธายะ
สังวัตเตยยุง ลัพเภถะ จะ สังขาเรสุ เอวัง เม สังขารา โหนตุ เอวัง เม สังขารา มา อะเหสุนติฯ
ยัส๎มา จะ โข ภิกขะเว สังขารา อะนัตตา ตัส๎มา สังขารา อาพาธายะ สังวัตตันติ นะ จะ ลัพภะติ
สังขาเรสุ เอวัง เม สังขารา โหนตุ เอวัง เม สังขารา มา อะเหสุนติ ฯ
วิญญาณัง อะนัตตาฯ วิญญาณัญจะ หิทัง ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ นะยิทัง วิญญาณัง
อาพาธายะ สังวัตเตยยะ ลัพเภถะ จะ วิญญาเณ เอวัง เม วิญญาณัง โหตุ เอวัง เม วิญญาณัง
มา อะโหสีติฯ ยัส๎มา จะ โข ภิกขะเว วิญญาณัง อะนัตตา ตัส๎มา วิญญาณัง อาพาธายะ
สังวัตตะตินะ จะ ลัพภะติ วิญญาเณ เอวัง เม วิญญาณัง โหตุ เอวัง เม
วิญญาณัง มา อะโหสีติ ฯ
ตัง กิง มัญญะถะ ภิกขะเว รูปัง นิจจัง วา อะนิจจัง วาติ ฯ อะนิจจัง ภันเต ฯ
ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ ฯ ทุกขัง ภันเต ฯ ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง
วิปะริณามะธัมมัง กัลลัง นุ ตัง สะมะนุปัสสิตุง เอตัง มะมะ เอโสหะมัส๎มิ
เอโส เม อัตตาติ ฯ โน เหตัง ภันเต ฯ
ตัง กิง มัญญะถะ ภิกขะเว เวทะนา นิจจา วา อะนิจจา วาติ ฯ อะนิจจา ภันเต ฯ
ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ ฯ ทุกขัง ภันเต ฯ ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง
วิปะริณามะธัมมัง กัลลัง นุตัง สะมะนุปัสสิตุง เอตัง มะมะ เอโสหะมัส๎มิ เอโส เม อัตตาติ ฯ
โน เหตัง ภันเต ฯ
ตัง กิง มัญญะถะ ภิกขะเว สัญญา นิจจา วา อะนิจจา วาติ ฯ อะนิจจา ภันเต ฯ ยัมปะนานิจจัง
ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ ฯ ทุกขัง ภันเต ฯ ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วิปะริณามะธัมมัง กัลลัง นุตัง
สะมะนุปัสสิตุง เอตัง มะมะ เอโสหะมัส๎มิ เอโส เม อัตตาติ ฯ โน เหตัง ภันเต ฯ
ตัง กิง มัญญะถะ ภิกขะเว สังขารา นิจจา วา อะนิจจา วาติ ฯ อะนิจจา ภันเต ฯ ยัมปะนานิจจัง
ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ ฯ ทุกขัง ภันเต ฯ ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วิปะริณามะธัมมัง กัลลัง นุ ตัง
สะมะนุปัสสิตุง เอตัง มะมะ เอโสหะมัส๎มิ เอโส เม อัตตาติ ฯ โน เหตัง ภันเต ฯ
ตัง กิง มัญญะถะ ภิกขะเว วิญญาณัง นิจจัง วา อะนิจจัง วาติ ฯ อะนิจจัง ภันเต ฯ
ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ ฯ ทุกขัง ภันเต ฯ ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง
วิปะริณามะธัมมัง กัลลัง นุ ตัง สะมะนุปัสสิตุง เอตัง มะมะ เอโสหะมัส๎มิ
เอโส เมอัตตาติ ฯ โน เหตัง ภันเต ฯ
ตัส๎มาติหะ ภิกขะเว ยังกิญจิ รูปัง อะตีตานาคะตะปัจจุปปันนัง อัชฌัตตัง วา พะหิทธา วา
โอฬาริกัง วา สุขุมัง วา หีนัง วา ปะณีตัง วา ยันทูเร สันติเก วา สัพพัง รูปัง เนตัง มะมะ
เนโสหะมัส๎มิ นะ เมโส อัตตาติ ฯ เอวะเมตัง ยะถาภูตัง สัมมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง ฯ
ยา กาจิ เวทะนา อะตีตานาคะตะปัจจุปปันนา อัชฌัตตา วา พะหิทธา วา โอฬาริกา วา
สุขุมา วา หีนา วา ปะณีตา วา ยา ทูเร สันติเก วา สัพพา เวทะนา เนตัง มะมะ เนโสหะมัส๎มิ
นะ เมโส อัตตาติ ฯ เอวะเมตัง ยะถาภูตัง สัมมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง ฯ
ยา กาจิ สัญญา อะตีตานาคะตะปัจจุปปันนา อัชฌัตตา วา พะหิทธา วา โอฬาริกา วา
สุขุมา วา หีนา วา ปะณีตา วา ยา ทูเร สันติเก วา สัพพา สัญญา เนตัง มะมะ เนโสหะมัส๎มิ
นะ เมโส อัตตาติ ฯ เอวะ เมตัง ยะถาภูตัง สัมมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง ฯ
เย เกจิ สังขารา อะตีตานาคะตะปัจจุปปันนา อัชฌัตตา วา พะหิทธา วา โอฬาริกา วา
สุขุมา วาหีนา วา ปะณีตา วา เย ทูเร สันติเก วา สัพเพ สังขารา เนตัง มะมะ เนโสหะมัส๎มิ
นะ เมโส อัตตาติ ฯ เอวะเมตัง ยะถาภูตัง สัมมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง ฯ
ยังกิญจิ วิญญาณัง อะตีตานาคะตะปัจจุปปันนัง อัชฌัตตัง วา พะหิทธา วา โอฬาริกัง วา
สุขุมัง วา หีนัง วา ปะณีตัง วา ยันทูเร สันติเก วา สัพพัง วิญญาณัง เนตัง มะมะ เนโสหะมัส๎มิ
นะเมโส อัตตาติ ฯ เอวะเมตัง ยะถาภูตัง สัมมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง ฯ
เอวัง ปัสสัง ภิกขะเว สุต๎วา อะริยะสาวะโก รูปัส๎มิงปิ นิพพินทะติ เวทะนายะปิ นิพพินนะติ
สัญญายะปิ นิพพินทะติ สังขาเรสุปิ นิพพินทะติ วิญญาณัส๎มิงปิ นิพพินทะติ ฯ
นิพพินทัง วิรัชชะติ ฯ วิราคา วิมุจจะติ ฯ วิมุตตัส๎มิง วิมุตตะมีติ ญาณัง โหติ ขีณา
ชาติ วุสิตัง พ๎รัห๎มะจะริยัง กะตัง กะระณียัง นาปะรัง อิตถัตตายาติ ปะชานาตีติ ฯ
อิทะมะโวจะ ภะคะวา ฯ อัตตะมะนา ปัญจะวัคคิยา ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุงฯ
อิมัส๎มิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัส๎มิง ภัญญะมาเน ปัญจะวัคคิยานัง ภิกขูนัง อะนุปาทายะ
อาสะเวหิ จิตตานิ วิมุจจิงสูติ ฯ